Switzerland Referendum
อ่าน

ประชามติสวิตเซอร์แลนด์: ประชามติที่มาจากเจตจำนงของพลเมือง

ประชามติของประเทศสวิตเซอร์แลนด์จะเกิดขึ้นตามเจตจำนงของพลเมืองเท่านั้น ซึ่งแตกต่างจากการทำประชามติที่ริเริ่มจัดทำขึ้นโดยรัฐบาล (Plebiscite) ที่มักมีไว้เพื่อสร้างความชอบธรรมให้ผู้มีอำนาจ ที่สวิตเซอร์แลนด์ รัฐบาลหรือรัฐสภาไม่สามารถสั่งให้ทำประชามติขึ้นเองแต่ต้องเกิดจากประชาชน และผลของการทำประชามติเป็นสิ่งที่รัฐบาลต้องทำตาม ไม่ว่าจะเห็นด้วยหรือไม่ก็ตาม
Admin Court order
อ่าน

ศาลปกครองไม่รับฟ้อง ชี้ผู้ฟ้องคดีไม่เสียหาย สั่ง กกต.แจงสังคมให้ชัดว่า การฝ่าฝืนประกาศไม่มีโทษ

ศาลปกครองสูงสุดสั่งไม่รับฟ้อง คดีที่ไอลอว์และภาคประชาสังคมฟ้องขอให้เพิกถอนประกาศห้ามแสดงความเห็นของ กกต. ชี้ผู้ฟ้องคดีไม่เสียหาย ไม่มีอำนาจฟ้อง ไอลอว์รับผลออกมาเช่นนี้เพราะเทคนิคทางกฎหมาย แต่พร้อมทำกิจกรรมต่อเพื่อยืนยันเสรีภาพการแสดงออก
อ่าน

ประชามติอียิปต์: ร่างรัฐธรรมนูญ 3 ครั้งใน 5 ปี เลือกตั้งแล้วได้ผู้นำไม่ดีเลยต้องเชื่อมือทหาร

การเมืองของอียิปต์ยุคใหม่ เริ่มตั้งแต่ปี 2011 เมื่อขับไล่เผด็จการได้สำเร็จ แต่ชาวอียิปต์ก็ยังไม่ได้ประชาธิปไตยจริงๆ เมื่อรัฐบาลที่มาจากการเลือกตั้งไม่แคร์ประชาชน จนทหารต้องมายึดอำนาจ ในรอบ 5 ปี อียิปต์ร่างรัฐธรรมนูญใหม่ 3 ครั้ง และทำประชามติ 3 ครั้ง ในบรรยากาศที่ต่างกัน
If constitutional court judge referendum act section 61 paragraph 2
อ่าน

สรุปเหตุผลของศาลรัฐธรรมนูญ ทำไม พ.ร.บ.ประชามติฯ ถึงไม่ขัดรัฐธรรมนูญ

หลังจากเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเอกฉันท์ พ.ร.บ.ประชามติฯ มาตรา 61 วรรคสอง ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ จนกระทั่งวันที่ 4 กรกฎาคม ศาลรัฐธรรมนูญได้เผยแพร่ร่างคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๔/๒๕๕๙ (อย่างไม่เป็นทางการ) ออกมา ไอลอว์สรุปเหตุผลของศาลรัฐธรรมนูญว่า ทำไม พ.ร.บ.ประชามติฯ ถึงไม่ขัดรัฐธรรมนูญ
Referendum Thai-style
อ่าน

ประชามติไทยสไตล์: โหวตเยส รัฐประหาร ร่างรัฐธรรมนูญ

7 สิงหาคม 2559 จะเป็นประชามติครั้งที่สองของประเทศไทย หลังจากที่ครั้งแรกเกิดขึ้นเมือเดือนสิงหาคม ปี 2550 การออกเสียงประชามติทั้งสองครั้งเกิดขึ้นภายใต้การควบคุมของรัฐบาลทหาร แต่บรรยากาศการแสดงความคิดเห็นและการรณรงค์ก็มีความแตกต่างกันในระดับหนึ่ง อะไรคือความเหมือนอะไรคือความต่าง