senate still work until 2024
อ่าน

ยุบสภา แต่ ส.ว. ชุดพิเศษยังอยู่ถึง พ.ค. 67 และมีอำนาจเลือกนายกฯ หลังเลือกตั้ง 66

แม้ 20 มีนาคม 2566 จะมีประกาศยุบสภา องค์กรที่เปลี่ยนแปลงโดยตรงคือสภาผู้แทนราษฎร ที่จะต้องมีการเลือกตั้งใหม่ ขณะที่วุฒิสภาชุดพิเศษ ไม่ได้เปลี่ยนแปลงเชิงโครงสร้าง ยังมีอำนาจเลือกนายกฯ หลังเลือกตั้ง 2566 และมีวาระห้าปี ถึง พ.ค. 2567
#FreeAlcohol bill vote
อ่าน

เช็คเรียงคน! โหวต #สุราก้าวหน้า วาระสาม พปชร.-ภท. เสียงแทบไม่แตก เทโหวตคว่ำ

เมื่อ 2 พฤศจิกายน 2565 สภาผู้แทนราษฎรโหวตคว่ำร่างกฎหมาย #สุราก้าวหน้า ในวาระสาม ด้วยคะแนนเสียง 196:194 เสียง ตัดกันเพียง 2 เสียง โดยเสียงไม่เห็นด้วยส่วนใหญ่ มาจากพรรคร่วมรัฐบาล โดยเฉพาะในพรรคพลังประชารัฐ และพรรคภูมิใจไทย ที่เสียงแทบไม่แตก เทโหวตคว่ำ
parliament meeting
อ่าน

จับตา #ประชุมสภา สมัยประชุมสุดท้ายก่อนเลือกตั้งสภาชุดใหม่ในปี 66

ช่วง “โค้งสุดท้าย” ของสภา จึงมีความสำคัญอย่างมากต่อกระบวนการจัดทำและแก้ไขกฎหมายต่างๆ หากพิจารณาร่างกฎหมายไม่ทัน ร่างกฎหมายก็จะตกไปและต้องริเริ่มกันใหม่ในสมัยประชุมหน้า
Bankruptcy bill
อ่าน

เข้าถึงง่าย-สะดวกลูกหนี้ เปรียบเทียบข้อเสนอ “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” กับกลไกล้มละลาย

ส.ส.พรรคก้าวไกล เสนอแก้กฎหมายล้มละลาย เพิ่มช่องทางให้ลูกหนี้บุคคลธรรมดาสามารถ “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” ได้โดยไม่ต้องมีการฟ้องล้มละลายกันทุกกรณี สร้างภาระแก่ลูกหนี้น้อยกว่าการฟ้องล้มละลาย เปิดโอกาสให้ลูกหนี้บริหารจัดการทรัพย์สินของตนเพื่อชำระหนี้คืนเจ้าหนี้ 
change.org campaign
อ่าน

ร่วมลงชื่อ สนับสนุนแก้กฎหมาย เปิดช่อง “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” ช่วยลูกหนี้บุคคลธรรมดา ไม่ต้องรอฟ้องล้มละลาย

ร่วมลงชื่อ สนับสนุนแก้กฎหมาย เปิดช่อง “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” ช่วยลูกหนี้บุคคลธรรมดา ไม่ต้องรอฟ้องล้มละลาย
Bankruptcy bill
อ่าน

ข้อเสนอเพิ่มช่องทางลูกหนี้ “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” ไม่ต้องถูกฟ้องล้มละลาย

ครม.และส.ส.พรรคก้าวไกล ได้เสนอแก้ไขพ.ร.บ.ล้มละลาย หลายประเด็น เช่น  แก้ไขหลักเกณฑ์เกี่ยวกับการฟื้นฟูกิจการ SMEs ส่วนที่แตกต่างเป็นกลไกใหม่ในร่างฉบับที่เสนอโดยส.ส.พรรคก้าวไกล คือ กลไกที่เปิดให้ลูกหนี้ "บุคคลธรรมดา" ขอเข้าสู่กระบวนการ "ฟื้นฟูสภาวะการเงิน" ได้ 
The Most Illustrious Order of Chula Chom Klao Bill
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ ตกไปแม้เคยผ่านสภา เหตุพระมหากษัตริย์ทรงวีโต้และรัฐสภามีมติไม่ยืนยัน

6 กันยายน 2565 รัฐสภามีมติไม่ยืนยันร่างพ.ร.บ.เครื่องราชฯ ที่พระมหากษัตริย์ทรงวีโต้ด้วยคะแนนเสียงไม่เห็นด้วย (ไม่ยืนยัน) 431 เสียง เห็นด้วย (ยืนยัน) 1 เสียง งดออกเสียง 28 เสียง ไม่ลงคะแนนเสียง 1 ด้วย จึงเป็นอันตกไป 
ืno-confidence vote results analyst
อ่าน

ผลอภิปรายไม่ไว้วางใจ 2565: “3 ป.เสียงแตก” “พปชร.ร้าว” ปชป.รั้งบ๊วย” “ภูมิใจไทยเลี้ยงูเห่า”

23 ก.ค. 2565 ผลการลงมติเป็นไปตามคาดคือรมต.ทั้ง 11 คน รอดจากการอภิปรายไม่ไว้วางใจ อย่างไรก็ดี ผลของการอภิปรายยังทำให้เห็นความขัดแย้งไม่เป็นเอกภาพของพรรคร่วมรัฐบาล รวมทั้งความแตกแยกภายในของแต่ละพรรค
MPs income
อ่าน

เปิดกฎหมาย! ส.ส.พรรคเล็กรับเงินเกิน 3,000 บาท ไม่แจ้งประธานสภาฯ มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 60,000 บาท

จากรายงานข่าว ที่ระบุว่า มีเอกสารหลุดว่า ส.ส.พรรคเล็กเซ็นรับเงินเดือนคนละ 100,000 บาท จากผู้มีบารมีทางการเมืองที่จ่ายเงินเดือนให้อีกก้อนหนึ่ง ซึ่งไม่ใช่เงินเดือนจากราชการ นอกจากนี้ยังมีการระบุว่า การรับเงินดังกล่าวอาจจะผิดกฎหมายด้วย 
ืno-confidence debate
อ่าน

อภิปรายไม่ไว้วางใจ 65 ประมวล “บาดแผล” รัฐบาลก่อนสภาลงมติ

19-22 กรกฎาคม 2565 สภาผู้แทนราษฎรมี #อภิปรายไม่ไว้วางใจ รมต. 11 คน และลงมติวันที่ 23 พรรคฝ่ายค้านแบ่งการอภิปรายสองวันแรกเป็นการอภิปรายพรรคร่วมรัฐบาลที่ถูกมองว่า "นั่งร้าน" ของรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ และสองวันสุดท้าย เป็นการล็อกเป้าไปที่กลุ่ม 3 ป. โดยเฉพาะ พล.อ.ประยุทธ์