Ethical standards
อ่าน

“ผิดมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง” เครื่องมือสอยนักการเมืองจากรัฐธรรมนูญ’60

“มาตรฐานทางจริยธรรม” เป็นเครื่องมือในการสืบทอดอำนาจอีกชิ้นหนึ่งของ คสช. ที่เอาไว้ควบคุมนักการเมือง แม้โดยกฎหมายจะบังคับใช้กับศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระด้วยก็ตาม แต่อำนาจในการออกมาตรฐานทางจริยธรรม การดำเนินคดี และการลงโทษล้วนอยู่ในมือของศาลและองค์กรอิสระทั้งสิ้น นับจนถึงคดีล่าสุดของ พรรณิการ์ วานิช อดีต สส. พรรคอนาคตใหม่ มีนักการเมืองถูกตัดสินว่าผิดมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรงแล้วจำนวนสี่คน
51231737650_1c7b60701e_c
อ่าน

ศาลฎีกาตอบกลับแอมเนสตี้ แจงมาตรการช่วงโควิด ลดการคุมขังไม่จำเป็น

องค์กรสิทธิมนุษยชนอย่างแอมแนสตี้ ประเทศไทย ส่งหนังสือถึงสำนักประธานฎีกาขอให้ศาลมีมาตรการคุ้มครองผู้ต้องขังและนักโทษเพื่อลดความรุนแรงของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อโควิด19 ทั้งในและนอกเรือนจำ รวมถึงขอให้ดำเนินการลดการคุมขังที่ไม่จำเป็นทุกขั้นตอน    
Somchai Homlaor
อ่าน

ยกฟ้องคดีฆ่าแขวนคอวัยรุ่นกาฬสินธุ์ (2): การบันทึกหลักฐานควรเปลี่ยนไปสู่ระบบดิจิทัล

ข้อเสนอวงเสวนา หลังศาลฎีกายกฟ้องคดีฆ่าแขวนคอวัยรุ่นกาฬสินธุ์ ช่วงทำสงครามกับยาเสพติด อดีตกรรมการสิทธิแนะ อาชญากรรมโดยรัฐต้องไม่แทรกซึมวงการตุลาการ อดีตจเรตำรวจ เสนอ แก้ป.วิอาญา พัฒนาระบบบันทึกหลักฐานและพยานในกระบวนการยุติธรรมแบบดิจิทัล 
CIVIL PROCEDURE CODE AMENDMENT
อ่าน

แก้ไข ‘ป.วิแพ่ง’ อาจตัดสิทธิประชาชน อุทธรณ์-ฎีกา

ปัจจุบันการยื่นคดีต่อศาลฎีกาเป็นระบบสิทธิ ซึ่งจะช่วยคุ้มครองคู่ความให้ได้รับความยุติธรรมโดยมีการตรวจสอบถึงสามชั้นศาล สำหรับการแก้ไข "ป.วิแพ่ง" เป็นระบบอนุญาตจะแก้ปัญหาเรื่องภาระคดีจำนวนมากที่จะต้องขึ้นศาลฎีกา การเปลี่ยนแปลงนี้อาจทำให้การตรวจสอบลดลง ดังนั้นการคุ้มครองสิทธิของประชาชนอาจได้รับผลกระทบ
Military Court Letter1-vert
อ่าน

ความเห็นศาลฎีกา : ความผิดเกี่ยวโยงกันให้ขึ้นศาลทหารได้หมด

ศาลฎีกาตั้งคณะกรรมการขึ้นมาพิจารณาแล้วมีความเห็นว่า ปัจจุบันไม่มีรัฐธรรมนูญ ศาลรัฐธรรมนูญจึงไม่มีอำนาจพิจารณาว่ากฎหมายใดขัดรัฐธรรมนูญแล้ว ถ้าความผิดใดเกี่ยวโยงกับความผิดที่ คสช.ประกาศให้ขึ้นศาลทหาร ก็ให้ขึ้นศาลทหารได้หมด