New Zealand Covid-19 measures
อ่าน

โควิด-19 ในต่างประเทศ : นิวซีแลนด์ตั้งเป้าฉีดวัคซีน 90% ก่อนคลายมาตรการรับมือโควิด-19

นิวซีแลนด์เป็นหนึ่งในไม่กี่ประเทศทั่วโลกที่มีอัตราการแพร่ระบาดของเชื้อโควิด-19 ต่อจำนวนประชากรในระดับที่ค่อนข้างต่ำ แม้นิวซีแลนด์จะไม่มีมาตรการเคอร์ฟิว ห้ามออกนอกจากเคหสถานในยามวิกาล แต่ก็ใช้ "ระบบเตือนภัยสี่ระดับ" เลือกใช้มาตรการได้ตามความรุนแรงของสถานการณ์
curfew in france
อ่าน

ส่องประเทศเคยเคอร์ฟิว : ฝรั่งเศส ยกเลิกเคอร์ฟิว เดินหน้าฉีดวัคซีนเด็ก 12 ปีขึ้นไป

ฝรั่งเศส เป็นอีกหนึ่งประเทศที่มีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 เป็นอันดับต้นๆ ของโลก ใช้มาตรการล็อคดาวน์เพื่อสู้กับโควิด-19 ถึงสามครั้ง และใช้มาตรการ "เคอร์ฟิว" ห้ามออกจากบ้านในยามวิกาลเป็นระยะๆ แต่ยกเลิกเคอร์ฟิวไปแล้วเมื่อ 20 มิถุนายน 2564 
Contract between Thai-government and Astrazeneca
อ่าน

ตามหาความจริงที่หายไปในสัญญาแอสตร้าเซเนก้า

หลังสัญญาจัดซื้อวัคซีน "ฉบับแรก" ที่รัฐบาลไทยทำกับบริษัทแอสตร้าเซเนก้าเพื่อสั่งซื้อวัคซีนจำนวน 26 ล้านโดส ถูกเปิดเผยออกมา พบว่า เอกสารดังกล่าวมีการขีดเส้นทีบสีดำเพื่อปกปิดข้อมูลเอาไว้ในหลายจุด การค้นหาความจริงที่หายไปจึงได้เริ่มต้นขึ้น
Vaccine Contract
อ่าน

ยังไม่เปิดเผยสัญญา รัฐบาลกับแอสตร้าเซเนก้า อังกฤษ-อียู เปิดสัญญาให้เห็นชัดว่า ใครเขียนไม่รัดกุม

กว่า 3 เดือนแล้วตั้งแต่มีการยื่นขอให้รัฐบาลเปิดเผยรายละเอียดสัญญาจัดซื้อวัคซีนป้องกันไวรัสโควิด 19 กับบริษัท แอสตร้าเซเนก้า และ บริษัท สยามไบโอไซเอนซ์ ซึ่งเป็นข้อมูลของรัฐที่ต้องเปิดเผย ชวนดูตัวอย่างในอังกฤษ-อียู ที่เปิดสัญญาต่อสาธารณะทำให้ประชาชนเห็นชัดว่า เขียนรัดกุมหรือไม่อย่างไร
Chulabhorn royal academy act
อ่าน

รู้จัก “ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์” ผ่านกฎหมายจัดตั้งที่เขียนในยุค คสช.

ในยุคสภาแต่งตั้ง สนช. ได้ออกพ.ร.บ.เพื่อจัดตั้งราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ขึ้นในปี 2559 และแก้ไขโครงสร้างตำแหน่งสำคัญในปี 2560 ด้วยเสียงเอกฉันท์ทั้งสองรอบ โดยให้เป็นองค์การมหาชน ไม่ใช่ส่วนราชการ มีระบบบริหารงานอิสระ ได้รับงบประมาณจากรัฐ ก่อนจะออกประกาศให้มีบทบาทจัดการวัคซีนโควิดในปี 2564