Decree to delay the enforcement of the anti-torture bill
อ่าน

พรรครัฐบาลร่วมใจส่งศาลรัฐธรรมนูญ ยื้อ พ.ร.ก. เลื่อน พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ

การส่งเรื่องให้ศาลรัฐธรรมนูญพิจารณา พ.ร.ก. แก้ไข พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ ทำให้สภาไม่มีโอกาสได้ลงมติ ซึ่งในระหว่างนี้บางมาตราของ พ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ ก็จะถูกอุ้มหายไปด้วย รวมถึงรัฐบาลที่จะต้องเป็นผู้รับผิดชอบหาก พ.ร.ก. ไม่ได้รับความเห็นชอบก็จะหมดอายุตามสภาไปแล้ว
Emergency Decree postponed Prevention of Torture Act's enforcement
อ่าน

ยังไม่เคาะ! ส.ส. ส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยปมพ.ร.ก.เลื่อนบังคับใช้พ.ร.บ.อุ้มหายฯ

28 ก.พ. 2566 ส.ส. 100 คน เข้าชื่อกันเสนอต่อประธานสภา เพื่อส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญเพื่อให้วินิจฉัยว่า พ.ร.ก. เลื่อนบังคับใช้พ.ร.บ.อุ้มหายฯ นั้นไม่เป็นไปตามเงื่อนไขที่รัฐธรรมนูญ มาตรา 172 กำหนด
Emergency Decree postponed Prevention of Torture Act's enforcement
อ่าน

จับตาประชุมสภา นัดลงมติอนุมัติ พ.ร.ก.เลื่อนบังคับใช้ พ.ร.บ.ป้องกันทรมานอุ้มหายฯ

28 ก.พ. 2566 สภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสภา มีวาระพิจารณาอนุมัติพ.ร.ก. แก้ไขพ.ร.บ.ป้องกันทรมานอุ้มหายฯ ที่ครม. ออกมเพื่อการบังคับใช้พ.ร.บ.ป้องกันทรมานอุ้มหายฯ 4 มาตราที่เกี่ยวกับกลไกการป้องกันการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหายออกไป
Act to prevent torture
อ่าน

สตช. ขอขยายเวลาบังคับใช้ พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ เหตุงบประมาณ-บุคลากร ยังไม่พร้อม

พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ พ.ศ.2565 จะมีผลบังคับใช้ 22 กุมภาพันธ์ 2566 แต่สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ทำหนังสือเสนอความเห็น ขอให้ขยายเวลาบังคับใช้กฎหมายดังกล่าว เฉพาะหมวด 3 การป้องกันการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย เหตุบุคลากร-งบประมาณยังไม่พร้อม
MP agreed with the Senator, passing the Act to prevent torture
อ่าน

ส.ส. เห็นด้วยกับ ส.ว. ผ่าน ร่าง พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ ปิดวงจรลอยนวลพ้นผิด

24 สิงหาคม 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการทรมานและการบังคับให้บุคคลสูญหาย (ร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ) ฉบับที่ผ่านการแก้ไขของวุฒิสภามาแล้ว
Torture and enforced disappearance prevention bill
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.ป้องกันทรมานอุ้มหายฯ ยังไม่เสร็จ เหตุส.ว. มีมติแก้ไข ต้องส่งกลับให้ ส.ส. เห็นชอบ

9 ส.ค. 2565 ที่ประชุมวุฒิสภาลงมติเห็นชอบกับการแก้ไขเพิ่มเติมร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 121 เสียง ไม่เห็นด้วย 8 เสียง งดออกเสียง 6 เสียง ส่งผลให้ต้องส่งร่างกลับไปให้สภาผู้แทนราษฎรลงมติว่าเห็นด้วยกับการแก้ไขหรือไม่
Senate's Second Reading: Torture and enforced disappearance prevention act
อ่าน

ส.ว. ขอแก้ร่าง พ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ กลับไปคล้ายร่างครม. ทั้งที่ ส.ส. มีมติแก้แล้ว

กมธ. ของ ส.ว. ได้ปรับแก้หรือตัดข้อเสนอใน ร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและการอุ้มหายฯ จำนวนหนึ่งที่เสนอในชั้น กมธ. ส.ส. และได้รับมติเห็นชอบจาก ส.ส. แล้ว เช่น ตัดโความผิดฐานกระทำย่ำยีศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ฯ การปรับโครงสร้างและที่มาของคณะกรรมการ จนทำให้ร่างของ กมธ. ส.ว. นั้นแทบจะปรับแก้ให้เนื้อหาสำคัญกลับไปเป็นเหมือนร่างของ ครม.
Senate committee extended consideration period on draft bill on torture
อ่าน

ส.ว. ขอยืดเวลาแก้ร่างพ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานฯ อาจเสี่ยงผ่านไม่ทันสภาชุดนี้

เส้นทางของประเทศไทยที่จะมีกฎหมายเพื่อป้องกันการซ้อมทรมานและการอุ้มหายเหลืออีกไม่ไกลแล้ว แต่ก่อนจะไปถึงจุดหมายที่หลายฝ่ายพยายามผลักดันมานาน ก็ยังต้องเจอกับ “วุฒิสภา” อันเป็นอีกหนึ่งด่านสำคัญที่รับไม้ต่อมาจากสภาผู้แทนราษฎร
Parliament approved draft torture-enforced disappearance law
อ่าน

หยุดลอยนวลพ้นผิด! สภาลงมติวาระสองและสาม ผ่านพ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมาน ส่งให้ส.ว.พิจารณาต่อ

23 กุมภาพันธ์ 2565 ที่ประชุมสภาผู้แทนราษฎรมีมติในวาระที่สองและสาม เห็นชอบกับร่างพ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. … ที่คณะกรรมาธิการแก้ไข โดยลำดับต่อไป ร่างกฎหมายก็จะถูกส่งไปให้วุฒิสภาพิจารณา ก่อนจะทูลเกล้าให้ลงพระปรมาภิไธยเพื่อประกาศใช้อย่างเป็นทางการในพระราชกิจจานุเบกษา
Torture and enforced disappearance prevention act
อ่าน

เปิดสี่ร่างพ.ร.บ.ป้องกันการทรมานและอุ้มหาย สร้างกลไกป้องกัน อุดช่องโหว่ปัญหาทรมาน-อุ้มหาย

สภาวะที่รัฐไม่มีกฎหมายภายในรับรองกรณีการซ้อมทรมานและอุ้มหาย กลายเป็นช่องโหว่ให้เจ้าหน้าที่รัฐหรือผู้มีอำนาจยังคงลอยนวลพ้นผิด แต่ในที่สุดร่างพ.ร.บ. ป้องกันการทรมานและอุ้มหายฯ ไม่ว่าจะที่เสนอโดยคณะรัฐมนตรี กรรมาธิการกฎหมายฯ พรรคประชาชาติ พรรคประชาธิปัตย์ ทั้งหมดสี่ฉบับ ก็ถูกบรรจุเป็นวาระการประชุมให้สภาผู้แทนราษฎรพิจารณา โดยทั้งสี่ฉบับมีรายละเอียดต่างกัน