photo_2020-12-17_18-00-37
อ่าน

คลื่นการชุมนุม 63 ในสายตาของสามผู้มีมลทินมัวหมอง

เพนกวิน-แรปเตอร์-เอเลียร์ สามผู้มีมลทินมัวหมองที่ถูกดำเนินคดีจากการชุมนุมในปี 2563 มาร่วมกันถอดบทเรียนถึงชนวนเหตุของการชุมนุมและทิศทางการชุมนุมในอนาคต
Welfare in Constitution
อ่าน

“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”

เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 พ.ศ.2550 และ พ.ศ.2560 สามด้าน คือ การศึกษา สุขภาพ และผู้สูงอายุ พบว่า ทั้งสามฉบับมีการกำหนดโครงสร้างด้าน “สวัสดิการ” ไว้บ้าง แต่ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิด “การสงเคราะห์ ช่วยเหลือ” มากกว่าที่จะกำหนดให้เป็นสิทธิของประชาชน
welfare issue on constitution
อ่าน

ปัญหารัฐธรรมนูญ 2560: สวัสดิการที่ยังไม่ชัดเจน และเปิดช่องว่างกว่าฉบับก่อนๆ

รัฐธรรมนูญไทยในอดีตเคยวางร่องรอยของการจัดสวัสดิการไว้และยึดมั่นในหลักการบางประการมาอย่างต่อเนื่อง ทว่ารัฐธรรมนูญ 2560 ได้ปรับเปลี่ยนถ้อยคำเล็กๆ น้อยๆ ที่เคยมีอยู่ในรัฐธรรมนูญฉบับก่อนๆ คล้ายวางกับดักเป็นช่องว่างให้รัฐมีภาระการดูแลสวัสดิการประชาชนลดถอยลง
Where is Pension?
อ่าน

“บำนาญแห่งชาติ” ความหวังชาตินี้ หรือชาติไหน?

ก่อนหน้าที่จะมีการระบาดของโควิด 19 เครือข่ายประชาชนเพื่อรัฐสวัสดิการได้พยายามผลักดันร่างกฎหมาย "พ.ร.บ.บำนาญแห่งชาติ" ซึ่งหลักใหญ่ใจความก็คือ การให้ผู้สูงอายุหรือผู้ที่มีอายุตั้งแต่ 60 ปีขึ้นไป จะได้รับเงินบำนาญอย่างเสมอภาคกัน โดยวางกรอบวงเงินไว้ที่ 3,000 บาทต่อเดือน หลังภาคประชาชนรวบรวมรายชื่อไม่น้อยกว่า 10,000 คน เพื่อเสนอกฎหมายฉบับดังกล่าวสู่สภา กฎหมายกลับยังติดขัดอยู่ที่ตัวนายกรัฐมนตรี 
83849351_2901817313171989_3713295103394054144_o
อ่าน

นิติรัตน์ ทรัพย์สมบูรณ์ – สามัญชนผู้ใฝ่ฝันถึงรัฐสวัสดิการ เพื่อลบล้างมรดกความจนให้หายไป

ในภาวะวิกฤติจากสถานการณ์โควิดที่ทุกกลุ่มอาชีพได้รับผลกระทบกันถ้วนหน้า แต่การช่วยเหลือจากภาครัฐกลับไม่สามารถเข้าถึงผู้เดือดร้อนได้ครอบคลุมทั้งหมด เสียงเพรียกหาสวัสดิการถ้วนหน้าจึงยิ่งดังขึ้น และ นิติรัตน์ ทรัพย์สมบูรณ์ จากเครือข่ายรัฐสวัสดิการเพื่อความเท่าเทียมและเป็นธรรม หรือ wefair คืออีกหนึ่งฟันเฟืองสำคัญที่มุ่งขับเคลื่อนผลักดันแนวคิดรัฐสวัสดิการให้เกิดขึ้นในสังคมไทย
49804739703_d824f769ab_o
อ่าน

การดิ้นรนของคนจนเมืองใน “รัฐสงเคราะห์”

นุชนารถ แท่นทอง ที่ปรึกษาเครือข่ายสลัมสี่ภาค มองวิกฤติโควิดส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนจนเมืองและคนไร้บ้าน ทั้งภาวะความเครียด หนี้สิน และปัญหาปากท้อง รวมไปถึงปัญหาเรื่องการช่วยเหลือเยียวยาที่ไม่ตรงจุด ล่าช้า ไม่ทันท่วงที อันเกิดจากรัฐธรรมนูญที่มีกรอบเป็นยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี ซึ่งส่งผลให้การบริหารงานในวิกฤติครั้งนี้ปราศจากการมีส่วนร่วมของประชาชนผู้ประสบปัญหา
49776278991_15244f5f45_o
อ่าน

วงเสวนาชี้ วิกฤติโควิด-19 สะท้อนภาวะอ่อนแอของรัฐธรรมนูญปี 60

ในวิกฤติการระบาดของโรคโควิด-19 ได้สะท้อนให้เห็นจุดอ่อนของรัฐธรรมนูญ ปี 2560 ที่ออกแบบมาให้พรรคการเมืองที่เป็นรัฐบาลขาดความชอบธรรมเพราะไม่ใช่พรรคที่มีตัวแทนมากที่สุดในสภา และการต้องไปรวมเสียงกับพรรคเสียงข้างน้อยยิ่งทำให้รัฐบาลอ่อนแอ ไม่เป็นเอกภาพ เมื่อผนวกกับรัฐราชการรวมศูนย์ยิ่งทำให้การตอบสนองปัญหาของประชาชนไม่สมบูรณ์ ขณะเดียวกัน วิกฤติโควิดยังทำให้ต้องพิจารณาทบทวนแนวคิดเรื่องรัฐสวัสดิการ และการพัฒนาอย่างยั่งยืนและมุ่งเน้นการมีส่วนร่วม
Movie Review_Thumbnail-Elysium
อ่าน

Elysium: หนังสะท้อนความเหลื่อมล้ำในการรักษาพยาบาลและชีวิตผู้อพยพในสังคมอเมริกา

iLaw’s Movie Pick เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ไอลอว์อยากเปิดพื้นที่ให้เล่าเรื่องการเมือง สังคม สิทธิมนุษยชน หรือกระบวนการยุติธรรมผ่านภาพยนตร์ โดยในช่วงที่ทุกคนล้วนต้องกักตัวตามมาตรการของรัฐ จึงได้จัดกิจกรรมให้คนทั่วไปส่งผลงาน "รีวิวหนัง" เข้ามาแชร์กัน
อ่าน

We walk เสวนา: รัฐสวัสดิการและหลักประกันสุขภาพ เป็นเรื่องเดียวกับเสรีภาพการคิด พูด เขียน

วงพูดคุยระหว่างทางการเดินเท้าจากกรุงเทพฯ ไปถึงขอนแก่น สัปดาห์แรกพูดคุยเรื่องระบบบัตรทองและรัฐสวัสดิการ ท่ามกลางบรรยากาศที่ปิดกั้น นิมิตร์ เทียนอุดม กล่าวว่า หากเราเรียกร้องไม่ได้ รัฐสวัสดิการก็จะเกิดไม่ได้ สังคมที่จะเป็นรัฐสวัสดิการต้องเป็นสังคมที่เป็นประชาธิปไตยและสังคมที่มีส่วนร่วม