Ballot Paper
อ่าน

#ส่องประชามติ: สรุปข่าวการจับกุมฐาน “ฉีกบัตร” ประชามติ ในวันที่ 7 สิงหาฯ

ไอลอว์เก็บรวบรวมข่าวเกี่ยวกับการจับกุมดำเนินคดี ฐานฉีกบัตรลงคะแนน ทั้งเจตนา และเข้าใจผิด ในวันที่ 7 สิงหาคม 2559 ซึ่งเป็นวันลงประชามติร่างรัฐธรรมนูญ และคำถามพ่วง
Admin Court order
อ่าน

ศาลปกครองไม่รับฟ้อง ชี้ผู้ฟ้องคดีไม่เสียหาย สั่ง กกต.แจงสังคมให้ชัดว่า การฝ่าฝืนประกาศไม่มีโทษ

ศาลปกครองสูงสุดสั่งไม่รับฟ้อง คดีที่ไอลอว์และภาคประชาสังคมฟ้องขอให้เพิกถอนประกาศห้ามแสดงความเห็นของ กกต. ชี้ผู้ฟ้องคดีไม่เสียหาย ไม่มีอำนาจฟ้อง ไอลอว์รับผลออกมาเช่นนี้เพราะเทคนิคทางกฎหมาย แต่พร้อมทำกิจกรรมต่อเพื่อยืนยันเสรีภาพการแสดงออก
If constitutional court judge referendum act section 61 paragraph 2
อ่าน

สรุปเหตุผลของศาลรัฐธรรมนูญ ทำไม พ.ร.บ.ประชามติฯ ถึงไม่ขัดรัฐธรรมนูญ

หลังจากเมื่อวันที่ 29 มิถุนายน ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเอกฉันท์ พ.ร.บ.ประชามติฯ มาตรา 61 วรรคสอง ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ จนกระทั่งวันที่ 4 กรกฎาคม ศาลรัฐธรรมนูญได้เผยแพร่ร่างคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ ๔/๒๕๕๙ (อย่างไม่เป็นทางการ) ออกมา ไอลอว์สรุปเหตุผลของศาลรัฐธรรมนูญว่า ทำไม พ.ร.บ.ประชามติฯ ถึงไม่ขัดรัฐธรรมนูญ
Referendum Thai-style
อ่าน

ประชามติไทยสไตล์: โหวตเยส รัฐประหาร ร่างรัฐธรรมนูญ

7 สิงหาคม 2559 จะเป็นประชามติครั้งที่สองของประเทศไทย หลังจากที่ครั้งแรกเกิดขึ้นเมือเดือนสิงหาคม ปี 2550 การออกเสียงประชามติทั้งสองครั้งเกิดขึ้นภายใต้การควบคุมของรัฐบาลทหาร แต่บรรยากาศการแสดงความคิดเห็นและการรณรงค์ก็มีความแตกต่างกันในระดับหนึ่ง อะไรคือความเหมือนอะไรคือความต่าง
Constitution Court press release
อ่าน

ไอลอว์ยืนยัน พ.ร.บ.ประชามติฯ มาตรา 61 ขัดหลักเสรีภาพ ขอทุกฝ่ายเปิดให้ประชาชนรณรงค์ได้

หลังศาลรัฐธรรมนูญเผยแพร่ข่าวว่า ตุลาการมีมติเอกฉันท์ว่า พ.ร.บ.ประชามติฯ มาตรา 61 วรรคสอง ส่วนที่เกี่ยวกับเสรีภาพการรณรงค์ ไม่ขัดต่อรัฐธรรมนูญ ในฐานะผู้ยื่นเรื่องให้ตีความ นี่เป็นความเห็นของไอลอว์
The constitutional court verdict referendum act
อ่าน

รณรงค์ประชามติ ‘ยาก’ ศาล รธน.ชี้ พ.ร.บ.ประชามติฯ ไม่ขัดรัฐธรรมนูญ

ศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยแล้วว่า "มาตรา 61 วรรค 2" ของ พ.ร.บ.ประชามติฯ "ไม่ขัดหรือแย้ง" ต่อรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2557 มาตรา 4 ทั้งนี้ เอกสารชี้แจงเป็นเพียงการบอกมติของศาลรัฐธรรมนูญว่าขัดหรือไม่ แต่ไม่ได้ชี้แจงถึงเหตุผลโดยละเอียด ต้องรอดูเอกสารฉบับเต็ม
อ่าน

ขู่-ห้าม-จับ พ.ร.บ.ประชามติฯ กกต.ใช้จำกัดการรณรงค์อย่างไรบ้าง

บรรยากาศของการลงประชามติยังเป็นไปอย่างเงียบเหงา เพราะมีเพียงภาครัฐเท่านั้นที่รณรงค์ได้เต็มตัว ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลมาจากการบังคับใช้ พ.ร.บ.ประชามติฯ ที่มีบทบัญญัติที่คลุมเครือ และมีโทษที่รุนแรง อย่างแข็งขัน ทำให้การแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับร่างรัฐธรรมนูญถูกกระชับพื้นที่เข้าไปทุกที