DE announcement
อ่าน

ประกาศกระทรวงดีอี ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ตต้องลบเนื้อหาผิดกฎหมายภายใน 24 ชั่วโมง ตัดขั้นตอนการโต้แย้ง

กระทรวงดีอี คุมโลกออนไลน์เข้มงวดขึ้น ออกประกาศใหม่ เกี่ยวกับการนำข้อมูล "ออก" จากระบบคอมพิวเตอร์ ผู้ให้บริการต้องลบข้อมูลที่เป็นความผิดภายใน 24 ชั่วโมงหลังบุคคลทั่วไปร้องเรียน แต่กรณีเจ้าหน้าที่ตรวจพบแล้วแจ้งให้ลบยังมีเวลาขึ้นอยู่กับประเภทของเนื้อหาที่แจ้งให้ลบ
50273740932_a7f3bd69db_o
อ่าน

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ให้อำนาจรัฐปิดเว็บที่ขัดต่อความสงบเรียบร้อย แม้ไม่ผิดกฎหมาย

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ปี 2560 มาตรา 20 เป็นเครื่องมือชิ้นสำคัญสำหรับรัฐในการปิดกั้นเนื้อหาบนโลกออนไลน์ โดยมาตราดังกล่าวกำหนดให้พนักงานเจ้าหน้าที่ยื่นคําร้องพร้อมแสดงพยานหลักฐานต่อศาลที่มีเขตอํานาจขอให้มีคําสั่งระงับการทําให้แพร่หลายหรือลบข้อมูลคอมพิวเตอร์นั้นออกจากระบบคอมพิวเตอร์ได้อย่างกว้างขวาง
FINAL_01
อ่าน

เปิดข้อเสนอแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ไม่ให้ใช้ฟ้องปิดปาก

ประเทศไทย มีกฎหมายหลายฉบับที่กำกับและควบคุมเสรีภาพในการแสดงออก ที่โดดเด่นที่สุด คือ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ) ซึ่งเป็นกฎหมายที่มีเจตนารมณ์เพื่อป้องกันการกระทำความผิดต่อข้อมูลหรือระบบคอมพิวเตอร์ เช่น การโจมตีระบบ หรือ การปลอมแปลงข้อมูลคอมพิวเตอร์ แต่ก็ถูกนำมาใช้จำกัดเสรีภาพการแสดงความคิดเห็นบนโลกออนไลน์อย่างผิดฝาผิดตัวและเป็นผลให้เกิดการละเมิดสิทธิเสรีภาพของประชาชนอย่างกว้างขวาง ด้วยเหตุนี้ จึงมีข้อเสนอจากภาคประชาชนที่ต้องการป้องกันไม่ให้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ถูกนำมาใช้เพื่อ "ฟ้องปิดปาก" 
fraudulent
อ่าน

รับเงินบริจาคไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวเข้าข่ายผิดฐาน “ฉ้อโกงประชาชน”

การเปิดรับบริจาคและนำเงินไปใช้ผิดวัตถุประสงค์ หรือนำไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวอาจจะเข่าข่ายความผิดฐานฉ้อโกงประชาชน ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 341 และ 343 วรรคหนึ่ง แต่ไม่สามารถผิด พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14 (1) ได้ เพราะเจตนารมณ์ของกฎหมายเป็นเรื่องการใช้เทคโนโลยีกระทำความผิด มิใช่การกระทำความผิดจากการโพสต์ข้อความในโลกออนไลน์ 
defamtion
อ่าน

วิจารณ์อย่างเท่าทัน ทำความเข้าใจกฎหมายพื้นฐาน หมิ่นประมาท-พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ

ทุกวันนี้การแสดงคว…
49869674897_f4eef7f033_o
อ่าน

รับมือโควิด 19 แบบไทยๆ ด้วยการออกกฎและ “ข่มขู่”

ที่ผ่านมาระหว่างการต่อสู้กับโรคโควิด 19 ด้วยกฎหมายและเครื่องมือใหม่ๆ แนวทางที่บุคลากรของภาครัฐปฏิบัติอย่างต่อเนื่องกัน คือ การแสดงออกในลักษณะ "ข่มขู่" หรือสร้างความหวาดกลัวให้แก่ประชาชน การข่มขู่อาจมาในลักษณะคำพูดที่สร้างความไม่มั่นคงให้แก่หน้าที่การงาน หรือการเตือนว่า การกระทำที่สวนทางกับรัฐอาจนำมาซึ่งการดำเนินคดีตามกฎหมาย