Srettha PM
อ่าน

เศรษฐาคว้าเก้าอี้นายกฯ คนที่ 30 ด้วยมติรัฐสภา 482 เสียง

22 สิงหาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเลือก เศรษฐา ทวีสิน แคนดิเดตนายกฯ จากพรรคเพื่อไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ด้วยคะแนนเสียง เห็นชอบ 482 เสียง ไม่เห็นชอบ 165  เสียง งดออกเสียง 81 เสียง ขาดประชุม 19 คน
53092801960_7945a15af9_o
อ่าน

ประธานชิงปิดประชุม 272 หลังเสนอให้ทบทวนเสนอชื่อนายกซ้ำ

วันที่ 4 สิงหาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภามีการนัดประชุมร่วมรัฐสภา เพื่อพิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญมาตรา 272 อย่างไรก็ตาม มีการเสนอญัตติด่วนให้สภาทบทวนมติเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีซ้ำ แต่หลังจากการอภิปรายของสมาชิก ประธานก็สั่งให้มีการปิดประชุมก่อนการลงมติ
Try to disband Act 272
อ่าน

จับตา! รัฐสภานัดถกแก้รัฐธรรมนูญ ม. 272 ปิดสวิตช์ ส.ว. ตัดอำนาจร่วมโหวตนายกฯ

หลังจาก วันมูหะมัดนอร์ มะทา ประธานรัฐสภา เลื่อนวันลงมติเลือกนายกรัฐมนตรีออกไปจากวันที่ 4 สิงหาคม 2566 หลังการเลือกตั้ง 2566 ทว่าหนึ่งในระเบียบวาระการประชุมรัฐสภาที่ยังเหลืออยู่บรรจุวาระที่ระบุว่า รัฐสภาจะถกเถียงกันเพื่อลงมติเรื่องการ "ปิดสวิทช์ ส.ว." หรือ การแก้ไขรัฐธรรมนูญ 2560 เพื่อยกเลิกมาตรา 272 ที่เปิดช่องให้สมาชิกวุฒิสภา หรือ ส.ว.
Thailand's 2017 constitution make election winners losing
อ่าน

เลือกตั้งสองครั้งตามรัฐธรรมนูญ 2560 พรรคอันดับหนึ่งไม่เคยได้เป็นนายก!

รัฐธรรมนูญ 2560 ได้วางกลไกสำคัญในการสืบทอดอำนาจให้อำนาจสมาชิกวุฒิสภา หรือ ส.ว. สามารถเลือกนายกรัฐมนตรีได้ นั่นจึงกลายเป็นปราการด่านสำคัญที่มีส่วนในการขวางพรรคอันดับหนึ่งจากการเลือกตั้ง ทั้งการเลือกตั้งในปี 2562 และการเลือกตั้งในปี 2566 จากการได้เป็นแกนนำในการจัดตั้งรัฐบาล
senate 272
อ่าน

ย้อนรอย สว.ฟังเสียงข้างมาก เห็นชอบ “พิธา” และเคยโหวตปิดสวิตช์ตัดอำนาจตัวเอง

ชวนย้อนรอยดูผลการโหวตแก้ไขมาตรา 272 (ปิดสวิตช์ส.ว.เลือกนายกฯ) ควบคู่กับมติโหวตนายกฯ ล่าสุด ว่าส.ว.คนใดเคยรับหลักการพร้อมเคียงข้างประชาชนกันบ้าง
To Naowarat
อ่าน

จดหมายเปิดผนึก ถึงเนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ สมาชิกวุฒิสภา ศิลปินแห่งชาติ เพื่อการปิดสวิตช์ สว. ดังความตั้งใจ

เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ เป็นสว. ที่ลงมติให้แก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อตัดอำนาจตัวเองทุกครั้ง เราจึงเขียนจดหมายฉบับนี้ขึ้นมาเพื่อขอโอกาสในการอธิบายข้อกฎหมายกับท่าน และหวังว่าท่านจะลงมติตามหลักการปิดสวิตช์สว. อย่างมั่นคงและงดงามนั้นเอง
senate uturn
อ่าน

สว.โหวตนายกฯ​ ผิดหวังแต่ไม่ผิดคาด พลิกจุดยืนกันครั้งใหญ่

วาระสำคัญโหวตเลือกนายกฯ คนที่ 30 มีส.ว.จำนวนหนึ่งเคยออกมาประกาศแสดงจุดยืนโดยอ้างหลักการต่างๆ ว่าจะลงคะแนนเสียงสนับสนุนนายกฯ จากพรรคที่ได้เสียงอันดับหนึ่ง มาในวันจริง “กลับลำ” พลิกลิ้นกันอีกรอบหรือบางคนก็ “หายตัว” ไปอย่างไร้ร่องรอย ไม่เหมือนกับที่เคยหนักแน่นไว้
Pita Not today
อ่าน

#โหวตนายกฯ พิธาเสียงไม่พอ “ยัง” ไม่ได้เป็นนายกรัฐมนตรี

13 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภา ลงมติเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 “ไม่สำเร็จ” โดยเป้าหมายต้องการ 376 เสียง แม้ว่า 8 พรรคร่วมจะจับมือเหนียวแน่นเสนอพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ แต่สุดท้ายส.ว. ก็มาโหวตให้แค่ 13 คน และพรรคอื่นไม่มาเลย
53039677922_c4bef07fa8_o
อ่าน

รู้หรือไม่ อดีตพรรคร่วมรัฐบาลเคยเทคะแนนโหวตปิดสวิตช์ ส.ว. มาแล้ว 3 ครั้ง

ช่วงเวลาสี่ปีของสภาที่ผ่านมา ประเด็นการตัดอำนาจ ส.ว. แต่งตั้งเลือกนายกรัฐมนตรีได้รับการสนับสนุนอย่างกว้างขวาง แม้แต่อดีตพรรคร่วมรัฐบาลอย่างพรรคพลังประชารัฐ พรรคภูมิใจไทย พรรคประชาธิปัตย์ ก็เคยยกมือปิดสวิตช์ ส.ว. มาแล้วถึงสามครั้ง รวมถึงเคยเสนอร่างเพื่อตัดอำนาจ ส.ว. ของตนเองด้วย
Senator Uturn
อ่าน

รวมจุดยืน ส.ว. หนุนพิธา เคยพูดอะไร? แล้วใครกลับลำ?

ใกล้ถึงวันนัดชี้ชะตาประเทศว่าจะได้เดินหน้าต่อภายใต้การนำของแคนดิเดตนายกฯ จากพรรคอันดับ 1 หรือไม่ ปฏิกิริยามากมายออกมาจากฝั่ง ส.ว. ซึ่งมีหลายคนที่แสดงจุดยืนส่วนตัวแตกต่างกันไป ชวนเช็คความเห็นส.ว.ตัวแปรสำคัญอีกครั้งก่อนโหวตนายกฯ