49586821237_bff7d550f6_c
อ่าน

ย้อนดูเทรนด์การให้-ไม่ให้ประกันตัวผู้วิจารณ์พระมหากษัตริย์ฯ ของศาลไทย

ระหว่างการรัฐประหาร 2557 การใช้มาตรา 112 และการไม่ให้ประกันตัวเป็นเรื่องที่เห็นบ่อยครั้ง ก่อนจะผ่อนคลายในช่วงปี 2561-2562 จากนั้นกลับมาสู่บรรยากาศแห่งความหวาดกลัวอีกครั้งในปี 2563
SPT submit letter
อ่าน

เกษตรกรไร้ที่ดิน ยื่นหนังสือองค์กรสิทธิ-องค์กรยุติธรรม ขอแค่ “สิทธิประกันตัว” สู้คดี

เกษตรกรไร้ที่ดิน ชุนชนน้ำแดง จ.สุราษฎร์ธานี – สมาชิกสหพันธ์เกษตรกรภาคใต้ (สกต.) เดินหน้ายื่นหนังสือต่อศาลกีฏา สำนักนายกรัฐมนตรี สำนักงานสหประชาชาติ สำนักงานคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ และกระทรวงยุติธรรม ขอให้เพื่อนได้รับสิทธิประกันตัวพร้อมเร่งแก้ไขปัญหาที่ดินเอกชนทิ้งร้าง
-เบื้องลึกเบื้องหลังการระดมทุนสาธารณะเพื่อนักโทษการเมือง03
อ่าน

เปิดแนวคิด เบื้องลึกเบื้องหลังการระดมทุนสาธารณะเพื่อผู้ต้องขังคดีทางความคิด”เพราะคุณจะไม่ต้องเดินอย่างเดียวดาย”

ไอลอว์ชวนอ่านบทสัมภาษณ์ตัวแทนของกลุ่มคนที่มีส่วนร่วมในการระดมทุนสาธารณะเพื่อช่วยเหลือจำเลยและผู้ต้องขังคดีการเมืองสามกลุ่มได้แก่ สมาคมเพื่อเพื่อน กองทุนเพื่อการเข้าถึงความยุติธรรมของนักโทษการเมือง และอานนท์ นำภา เพื่อทำความเข้าใจถึงแนวเบื้องลึกเบื้องหลังในการระดุมทุนและเหตุผลว่าทำไมสาธารณะชนส่วนหนึ่งถึงต้องการเข้ามาร่วมแบ่งเบาภาระทางการเงินให้กับจำเลยและผู้ต้องขังคดีการเมืองที่กำลังแบกภาระทางกระบวนการยุติธรรมเหล่านี้
inmates
อ่าน

เมื่อ “ระบบข้อมูล” เอื้อให้ศาลสั่งประกันตัวโดยไม่ต้องวางเงินได้ ต่างประเทศวางระบบกันแบบนี้

เปิดงานศึกษาตัวอย่างจากอเมริกา เคยมีระบบประกันตัวเหมือนไทยแต่เปลี่ยนสำเร็จ มาใช้ระบบประเมินความเสี่ยงแทนการวางเงิน จัดตั้งสำนักสืบเสาะข้อมูลโดยเฉพาะเพื่อนำเสนอศาล เก็บข้อมูลได้จริง รวดเร็ว ประเมินผลค่อนข้างแม่นยำ หลบหนีน้อย ใช้งบน้อยกว่าเอาคนไปขังคุก 
mookmetin
อ่าน

ต้องไม่มีใครติดคุกเพราะจน

เครือข่ายปฏิรูปการประกันตัวเพื่อคนจน จัดงานเสวนา “ปฏิรูปการประกันตัวเพื่อความเสมอภาคในสังคม : ร่วมกันแสวงหามาตรการทดแทนการขังระหว่างพิจารณา” เสนอเปลี่ยนระบบใช้เงินประกันตัว เป็นการออกแบบฐานข้อมูลประเมินความเสี่ยงหลบหนี ช่วยคนไม่มีเงินไม่ต้องติดคุก 
กองทุนยุติธรรม
อ่าน

ทางเลือกของคนทางเลือกน้อย: “กองทุนยุติธรรม” ช่วยคนไม่มีเงินประกัน – ถูกคุมขังฟรี

ในอดีตปัญหาคนติดคุกฟรีถือเป็นเรื่องของความ "โชคร้าย" เพราะไม่มีกฎหมายกำหนดให้ภาครัฐเยียวยาผู้ที่ถูกคุมขังระหว่างพิจารณาคดีที่ศาลพิพากษายกฟ้อง ในปัจจุบันสถานการณ์เปลี่ยนไปในทางที่ดีโดยมีการจัดตั้งกองทุนยุติธรรมให้ความช่วยเหลือเงินประกันตัวกับผู้มีรายได้น้อยหรือเยียวยาคนถูกฝากขังที่อัยการสั่งไม่ฟ้องกับสำนักงานช่วยเหลือทางการเงินฯเพื่อช่วยเหลือผู้ถูกคุมขังแต่ศาลยกฟ้องซึ่งการทำความรู้จักกับหน่วยงานทั้งสองน่าจะมีประโยชน์ในยาม 'ฉุกเฉิน'
7 activists
อ่าน

สรุปการตั้งข้อกล่าวหาและสถานะของนักกิจกรรมที่ถูกจับกุม ช่วง 23-24 มิถุนายน 2559

ช่วงวันที่ 23 และ …
112eng
อ่าน

สถิติน่าสนใจ เกี่ยวกับการประกันตัวคดี 112 ในยุครัฐบาลคสช.

8 มีนาคม 2559 ฐนกร จำเลยคดีหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ผู้ถูกกล่าวหาว่ากดไลค์เพจหมิ่นและโพสต์ข้อความเสียดสีสุนัขทรงเลี้ยง ได้รับอนุญาตให้ประกันตัว โดยศาลทหารกรุงเทพตีราคาประกันที่ 500,000 บาท พร้อมกำหนดเงื่อนไขห้ามออกนอกประเทศ โดยก่อนได้รับการปล่อยตัวฐนกรถูกควบคุมตัวในเรือนจำมาแล้วรวม 86 วัน ถือเป็นจำเลยคดีมาตรา 112 คนล่าสุดที่ได้ประกันตัว ท่ามกลางคนอีกจำนวนมากที่ไม่ได้ประกันตัว ย้อนดูสถิติที่น่าสนใจเกี่ยวกับสิทธิการประกันตัว ของผู้ถูกตั้งข้อหามาตรา 112 ในยุครัฐบาลคสช.
thumbtaxi
อ่าน

Yutthasak: A taxi driver and the pricey fare paid for a conversation

A taxi driver’s working conditions compel him to sit alone in a narrow, confined space for the entire day. Many taxi drivers strike up conversation with their passengers to relieve their loneliness. The conversations are often about ordinary issues, such as the weather, sports, jobs, and politics. There is usually nothing special or memorable about the conversations. Once the taxi has reached its destination, and the passenger has paid the fare, the conversation is forgotten.