อ่าน

“คดีอาญาเหมือนกัน แต่บางคดีแรงเพราะการเมือง” ฟังเสียง ต๊ะ-คทาธร กับความสองมาตรฐานคดีการเมืองไทย

ต๊ะ-คทาธร นักกิจกร…
อ่าน

นิรโทษกรรมแบบใด? เปรียบเทียบร่างกฎหมายนิรโทษกรรม-สร้างเสริมสังคมสันติสุข 4 ฉบับ

ร่างกฎหมายนิรโทษกรรม 4 ฉบับ ที่อาจเข้าสภาในปี 2567 เนื้อหาแตกต่างกันหลายประเด็น โดยเฉพาะประเด็นที่เป็นเรื่องถกเถียง คือการนิรโทษกรรมคดีความผิด มาตรา 112
อ่าน

เช็คจุดยืนพรรคการเมืองนิรโทษกรรมคดี 112

จุดยืนต่อการนิรโทษกรรมคดีมาตรา 112 ของบางพรรคการเมืองยังไม่มีความชัดเจน ชวนเช็คจุดยืนของแต่ละพรรคการเมืองในปัจจุบัน (ถึงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2567)
อ่าน

ย้อนดูกฎหมาย-คำสั่งในอดีต ข้อหาที่โทษหนักกว่ามาตรา 112 ก็นิรโทษกรรมมาแล้ว

หากย้อนดูประวัติศาสตร์กฎหมายนิรโทษกรรมในไทย รวมถึงการใช้มาตรการของรัฐในอดีตเพื่อแก้ไขปัญหาความเห็นต่างในสังคม จะพบว่าการนิรโทษกรรมให้กับความผิดที่เกี่ยวกับความมั่นคง หรือแม้กระทั่งความผิดที่มีอัตราโทษสูงกว่า มาตรา 112 ก็ตาม ก็เคยออกกฎหมายมาแล้ว มีการนิรโทษกรรมเกิดขึ้นจริง และมีผู้ที่ได้นิรโทษกรรมจากกฎหมายดังกล่าว ข้อเสนอเพื่อนิรโทษกรรมครอบคลุมความผิดเกี่ยวกับความมั่นคง เช่น มาตรา 112 ไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่ในสังคมไทย
อ่าน

Q&A ถาม-ตอบข้อสงสัย อยากลงชื่อร่างพ.ร.บ.นิรโทษกรรมประชาชน ต้องทำยังไง? มีขั้นตอนใดบ้าง?

ในช่วงเทศกาลแห่งความรักปีนี้ 1-14 กุมภาพันธ์ 2567 องค์กรภาคประชาสังคมรวมถึงนักกิจกรรมหลายกลุ่มในนาม “เครือข่ายนิรโทษกรรมประชาชน” เดิน Kick off แคมเปญ #นิรโทษกรรมประชาชน พร้อมเสนอร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมประชาชน นิรโทษกรรมให้ “ทุกข้อหา” ที่เกิดจากการแสดงออกทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็น คดีตามประกาศ/คำสั่งคสช. คดีพลเรือนในศาลทหาร คดีมาตรา 112 คดีพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หรือคดีพ.ร.บ.ประชามติฯ เพื่อให้สภาพิจารณา สำหรับผู้ที่สนใจจะลงชื่อเสนอร่างกฎหมายนิรโทษกรรมประชาชนให้ถึงสภา แล้วมีคำถามหรือข้อสงสัยเกี่ยวกับการลงชื่อ เราได้รวบรวมคำถามที่พบบ่อยมาไว้แล้ว ดูแล้วสามารถไปลงชื่อได้เลย
อ่าน

นิรโทษกรรมประชาชนทุกฝ่าย จุดเริ่มต้นสลายความขัดแย้งคดีการเมือง

7 กุมภาพันธ์ 2567 เครือข่ายนิรโทษกรรมประชาชน จัดกิจกรรม นิรโทษกรรมทัวร์ ตอบคำถามคาใจประเด็นนิรโทษกรรม และวงคุยพิเศษ กับนพ.เหวง โตจิราการ อดีตแกนนำ นปช.
อ่าน

งานเสวนา “ข้อหาหยุมหยิมมากมาย นิรโทษกรรมเท่าที่ได้ก่อนดีไหม?”

ชวนร่วมงานเสวนา เรียนรู้ปัญหาการดำเนินคดีต่อผู้ชุมนุมด้วยข้อหาที่ไม่ร้ายแรง แต่สร้างปัญหาให้กับเสรีภาพอย่างมาก และคุยต่อถึงโอกาสในการนิรโทษกรรม
อ่าน

จากปี 49 ถึง 67 เสียงจากสามนักสู้บนท้องถนน นิรโทษกรรมต้องมีมาตรา 112

วงเสวนา “นิรโทษกรรมประชาชน (สักที!) #เสียเวลาฉิบหาย” เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2567 ณ อาคาร All Rise จึงรวมสามนักสู้ร่วมยุคสมัยอย่าง หนูหริ่ง-สมบัติ บุญงามอนงค์ หรือ บ.ก.ลายจุด กลุ่มคนอยากเลือกตั้ง แหวน-ณัฏฐธิดา มีวังปลา พยาบาลอาสาจากเหตุการณ์ปี 2553 และ นก-นภัสสร บุญรีย์ หรือป้านก ผู้เคลื่อนไหวแทบทุกการชุมนุมตั้งแต่ปี 2535 มาร่วมวงเสวนา