52496762493_f9a9240762_o
อ่าน

คดี กรรม และนักร้องมือฉมัง: รวมสถิติสุดช็อก 2 ปีของการใช้ “มาตรา 112”

พุทธศักราช 2363-2565 คือช่วงเวลาที่มีผู้ถูกตั้งข้อหา “มาตรา 112” มากที่สุดในประวัติศาสตร์ จากการเก็บข้อมูลของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชน นับตั้งแต่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประกาศจะใช้กฎหมาย “ทุกมาตรา” เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2563 นับเป็นเวลาประมาณ 2 ปี จนถึง 14 พฤศจิกายน 2565 มีผู้ถูกดำเนินคดีมาตรา 112 อย่างน้อย 217 คน ใน 236 คดี  สาเหตุที่จำนวนของ “คน” และ “คดี” ไม่เท่ากัน เพราะว่า มนุษย์ 1 คน ถูกตั้งข้อหาได้มากกว่า 1 คดี แต่ถ้าหากใครจะคิดว่า “อย่างมากก็แค่โดน
107-112
อ่าน

เปิดสถิติข้อหา ‘ความผิดต่อพระมหากษัตริย์’ ที่ขึ้นสู่ศาลระหว่างปี 2549-2563

ไอลอว์ขอข้อมูลคดีมาตรา 112 จากสำนักแผนและงบประมาณ ศาลยุติธรรม พบระบบเก็บสถิติของศาลเก็บแยกเป็นหมวด ทำให้ทราบจำนวนข้อหาที่อยู่ในหมวดความผิดต่อพระมหากษัตริย์ฯ ทั้งหมด และจากสถิติดังกล่าวพบว่า ยอดคดีฟ้องใหม่พุ่งในปี 2551 2552 และ 2558 โดยที่ช่วงปี 2557-2559 คดีจำนวนมากไปขึ้นศาลทหาร จึงไม่ได้นับรวมด้วย และเมื่อคดีจากศาลทหารโอนมาในปี 2562 ยอดรวมก็พุ่งขึ้นอีกครั้ง 9 มิถุนายน 2564 ไอลอว์ยื่นหนังสือต่อสำนักงานศาลยุติธรรม เพื่อขอทราบสถิติข้อมูลการดำเนินคดีฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 อาศัยสิทธิของประชาชนที่จะได้รับทราบข้อมูลข
military court
อ่าน

สี่ปี ศาลทหาร คดีพลเรือนยังคงค้างอย่างน้อย 281 คดี

กรมพระธรรมนูญ (ศาลทหาร) เปิดเผยข้อมูลสถิติคดีพลเรือนในศาลทหารทั่วประเทศรวมทั้งศาลทหารกรุงเทพ ครอบคลุมระยะเวลาตั้งแต่วันที่ 25 พฤษภาคม 2557 จนถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2561 เป็นระยะเวลาประมาณ 4 ปี 1 เดือน โดยระบุว่า ในศาลทหารกรุงเทพ มีจำเลยที่เป็นพลเรือนถูกพิจารณาคดี 367 คน จาก 238 คดี ในจำนวนนี้เป็นคดีที่ศาลมีคำพิพากษาและคดีที่ถึงที่สุด 150 คดี อยู่ระหว่างการพิจารณา 88 คดี หากจำแนกตามประเภทความผิด มีคดีความผิดตามประมวลกฎหมายหมวดพระมหากษัตริย์(รวมทั้งมาตรา 112) 67 คดี ความผิดตามประมวลกฎหมายอาญาหมวดความมั่นคง (รวมทั้งข้อหายุยงปลุกปั่นตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116) 6 คด
112ทัมป์เนล
อ่าน

สถิติคดี 112 ที่น่าสนใจ ตั้งแต่ปี 2557- 2560

คดี 112 หรือคดีหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ ยังเป็นคดีที่คงเส้นคงวาในความลี้ลับ ไม่ว่าจะเป็นสิทธิในการประกันตัวผู้ต้องหาที่ยังคงเป็นสิทธิที่เข้าถึงยาก หรือจำนวนโทษที่ในปี 2560 เคยมีจำเลยถูกศาลพิพากษาจำคุกสูงถึงเจ็ดสิบปี จากปี 2557 ที่มีการยึดอำนาจและเร่งรัดดำเนินคดี 112 จนถึงสิ้นปี 2560 มีผู้ถูกตั้งข้อกล่าวหาในคดีไปแล้วอย่างน้อย 94 ราย ในจำนวนนี้บางส่วนตัดสินใจรับสารภาพตั้งแต่ชั้นสอบสวนเพื่อให้คดีสิ้นสุดโดยเร็ว บางส่วนตั้งใจพิสูจน์ความบริสุทธิของตัวเองในช่วงต้นแต่เมื่อต้องเผชิญกับเงื่อนไขเช่นการไม่ได้ประกันตัวและการถูกพิจารณาคดีแบบปิดลับซึ่งเป็นสาเหตุให้ตัดสินใจรับสารภาพ 
อ่าน

Insects จับมือ Shakespeare เร่งคดีศาลปกครอง

สองหนังที่ถูกแบน: ‘Insects In The Backyard’ และ ‘เชคสเปียร์ต้องตาย’ ร้องปอท.ดำเนินคดีกับเว็บไซต์ละเมิดลิขสิทธิ์แอบเอาหนังไปขาย พร้อมยื่นคำร้องขอให้ศาลปกครองพิจารณาคดีโดยเร็ว 
อ่าน

เชคสเปียร์ต้องไม่ตาย! เดินหน้ายื่นหนังสือนายกฯ-ยื่นอุทธรณ์คำสั่ง

ทีมงานผู้สร้างภาพยนตร์เชคสเปียร์ต้องตาย บุกทำเนียบพร้อมรายชื่อประชาชน เรียกร้องนายกฯ หยุดแบนภาพยนตร์ไทย พร้อมเดินหน้ายื่นอุทธรณ์คำสั่งห้ามฉายภาพยนตร์เรื่องนี้แล้ว
อ่าน

เดินหน้าสู้ต่อ ยื่นคำคัดค้าน : Insects in the backyard vs กรรมการเซ็นเซอร์

ความคืบหน้าคดีที่ ธัญญ์วาริน สุขะพิสิษฐ์ ฟ้องคณะกรรมการภาพยนตร์ต่อศาลปกครองให้เพิกถอนคำสั่งที่ห้ามฉายเรื่อง Insects in the Backyard ล่าสุดเมื่อ 2 ก.ย. 54 ธัญญ์วารินและทีมกฎหมายทำคำคัดค้านคำให้การยื่นต่อศาล
culture
อ่าน

พ.ร.บ.ภาพยนตร์ กับคำถามที่กระทรวงวัฒนธรรมไม่เคยตอบ (จึงถามศาลปกครองแทน)

บทความจากไอลอว์ เผยกรณีปัญหาการตีความพ.ร.บ.ภาพยนตร์และวีดิทัศน์แห่งชาติ พ.ศ.2551 ที่ยังสับสน และกระทบต่อสิทธิในการแสดงออก จึงต้องฝากความหวังไว้ที่ คดี Insects in the Backyard
อ่าน

ผู้กำกับInsects เผยท้อ นักวิชาการเชียร์สู้ต่อ รุมจวกรัฐคิดแทน

วงเสวนา Insects in the Backyard หลังจากศาลปกครองไม่อนุญาตให้ฉายหนังในงานวิชาการ ธัญญ์วารินผู้กำกับหนังเผยความรู้สึกท้อใจ หลายฝ่ายเชียร์ให้สู้  
อ่าน

ศาลปกครองนัดไต่สวน ทุเลาคำสั่งคดี Insects

กรรมการเซ็นเซอร์ัยัน แมลงในสวนหลังบ้านไม่ได้โดนเรท "ห" ห้ามฉายอย่างที่เข้าใจ แค่ไม่อนุญาตให้ฉายตามมาตรา 29 และไม่ใช่หนังเรื่องแรกที่โดนแบน