53464551742_af080fb8bf_z
อ่าน

รู้จักมาตรา 133 134 หมิ่นประมุขรัฐหรือทูตต่างชาติอาจผิดกฎหมาย

รู้หรือไม่ การแสดงความเห็นวิพากษ์วิจารณ์ประมุขของรัฐหรือทูตต่างประเทศก็สามารถทำให้ติดคุกหรือถูกปรับได้ โดยมีฐานความผิดเดียวกับประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 หรือกฎหมายหมิ่นประมาทที่ใช้กับกษัตริย์ไทย ประมวลกฎหมายอาญาไทยมีบทบัญญัติให้การคุ้มครองประมุขของรัฐต่างประเทศ ซึ่งรวมถึง ราชาธิบดี ราชินี ราชสามี รัชทายาท (มาตรา 133) และผู้แทนรัฐต่างประเทศซึ่งได้รับแต่งตั้งให้มาสู่พระราชสำนัก (มาตรา 134) จากการหมิ่นประมาท ดูหมิ่น หรือแสดงความอาฆาตมาดร้าย โดยความผิดต่อประมุขต่างประเทศนั้นต้องระวางโทษจำคุกตั้งแต่หนึ่งปีถึงเจ็ดปี
How the foreign governments lost their referendum.
อ่าน

ประชามติ “ล้มเหลว” ในต่างประเทศ เพราะไม่สะท้อนความเห็นประชาชน

ร่วมสำรวจความพ่ายแพ้ของการทำประชามติโดยรัฐบาลชิลี ออสเตรเลีย และสหราชอาณาจักร เพื่อถอดบทเรียนและเน้นย้ำความสำคัญของการจัดทำประชามติให้สะท้อนเสียงของประชาชน
53334194548_51c5e5c4d7_c
อ่าน

สำรวจนิรโทษกรรมในอเมริกาใต้! รัฐบาลพลเรือนทำอะไรได้บ้างเพื่อคืนความเป็นธรรม

ก่อนการเลือกตั้ง 2566 ภายใต้รัฐบาลของพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา การดำเนินคดีการเมืองด้วยการใช้มาตรา 112 มาตรา 116 ไปจนถึงการใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ถูกดำเนินการจนส่งผลให้จำนวนผู้ต้องขังในคดีการเมืองยังคงพุ่งสูง ขณะที่สถานการณ์ปัจจุบันภายใต้รัฐบาลพลเรือนที่นำโดยเศรษฐา ทวีสิน ทิศทางของผู้ที่ถูกดำเนินคดีทางการเมืองยังคงไม่ชัดเจนและสถานการณ์ยังไม่ไปในทางที่เป็นคุณกับผู้ต้องหาคดีการเมือง การออกกฎหมาย “นิรโทษกรรม” ให้แก่ผู้ต้องหาคดีการเมืองเป็นอีกช่องทางหนึ่งที่สามารถเป็นทางออกเพื่อทำให้สภาพสังคมหลังผ่านความขัดแย้ง (Po
world election commission
อ่าน

สำรวจงาน กกต. สากล จัดเลือกตั้งแบบใดให้ผลไม่ออกช้า?

สำรวจการเลือกตั้งของ 4 ประเทศที่น่าสนใจ รวมทั้งความไวในการประกาศผลคะแนนที่น่าเหลือเชื่อ เพื่อตอกย้ำว่าหลักการจัดการเลือกตั้งอย่างสุจริต โปร่งใส แบบเที่ยงธรรม ฉบับที่ความเที่ยงธรรมไม่ได้ถูกทำอย่างล่าช้าเป็นอย่างไร 
Is PM required to be MP?
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ส่องระบบรัฐสภา อังกฤษ อินเดีย ญี่ปุ่น ให้นายกฯ ต้องเป็น ส.ส. ไหม?

ในระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา หลักการให้นายกรัฐมนตรีต้องเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) ได้รับการยอมรับกันโดยทั่วไป โดยมีทั้งในประเทศที่เขียนเป็นลายลักษณ์อักษรในกฎหมาย หรือประเทศที่ถือเป็นธรรมเนียมปฏิบัติ
rehabilitate debt
อ่าน

ลูกหนี้ไทยยังขาดโอกาสฟื้นฟู กฎหมายต่างประเทศมีช่องให้ลูกหนี้ “เริ่มชีวิตใหม่” ไม่ต้องล้มละลาย

กฎหมายไทยไม่มีกลไก “ฟื้นฟูสภาวะทางการเงิน” สำหรับบุคคลธรรมดา ในขณะที่กฎหมายล้มละลายของหลายๆ ประเทศ เช่น สหรัฐอเมริกา ล้วนแต่มีกลไกที่ให้โอกาสลูกหนี้บุคคลธรรมดา “เริ่มชีวิตใหม่” โดยการฟื้นฟูสภาวะทางการเงินได้ ไม่ต้องถูกฟ้องล้มละลายทุกกรณี
French Presidential Election System: Two Round Voting
อ่าน

ระบบเลือกตั้งฝรั่งเศส : ประชาชนเลือกได้สองรอบ การันตีเสียงข้างมากเด็ดขาด

ระบบเลือกตั้งประธานาธิบดีของฝรั่งเศสนั้นใช้ระบบเลือกตั้งสองรอบ (Two-Round System) ซึ่งจะคัดเลือกผู้สมัครที่ได้คะแนนสูงสุดสองอันดับแรกในการเลือกตั้งรอบแรก มาแข่งกันอีกครั้งในรอบที่สองเพื่อหาผู้ชนะอีกครั้ง เพื่อรับประกันว่าอย่างน้อยผู้ที่ชนะนั้นจะได้เป็นเสียงข้างมากอย่างเด็ดขาด
curfew in france
อ่าน

ส่องประเทศเคยเคอร์ฟิว : ฝรั่งเศส ยกเลิกเคอร์ฟิว เดินหน้าฉีดวัคซีนเด็ก 12 ปีขึ้นไป

ฝรั่งเศส เป็นอีกหนึ่งประเทศที่มีจำนวนผู้ติดเชื้อโควิด-19 เป็นอันดับต้นๆ ของโลก ใช้มาตรการล็อคดาวน์เพื่อสู้กับโควิด-19 ถึงสามครั้ง และใช้มาตรการ "เคอร์ฟิว" ห้ามออกจากบ้านในยามวิกาลเป็นระยะๆ แต่ยกเลิกเคอร์ฟิวไปแล้วเมื่อ 20 มิถุนายน 2564 
referendum in Italy and Chile
อ่าน

จากอิตาลีถึงชิลี ย้อนดูประชามติเปลี่ยนประเทศสู่ประชาธิปไตย

ในประวัติศาสตร์โลกที่ผ่านมา มีการจัดประชามติหลากหลายครั้งที่นำไปสู่การเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางการเมืองขนานใหญ่ กรณีของอิตาลีในปี 2489 และชิลีในปี 2563 แสดงให้เห็นถึงแรงกดดันจากประชาชนที่สั่นสะเทือนทำให้แม้แต่สถาบันกษัตริย์หรือรัฐธรรมนูญของเผด็จการก็ต้องล้มหายไป
Covid vs Freedom
อ่าน

สุขภาพ หรือ เสรีภาพ : โควิดไม่ใช่เหตุสลายการชุมนุมเกินสัดส่วน

การช่างน้ำหนักระหว่างเสรีภาพในการชุมนุม กับมาตรการห้ามจัดกิจกรรมเพื่อป้องกันโรคระบาด เป็นข้อถกเถียงที่เกิดขึ้นทั่วโลก รายงานเผย 86 ประเทศ มีการประท้วงต่อต้านมาตรการช่วงโควิด และ 28 ประเทศรัฐบาลใช้กำลังสลายการชุมนุมจนมีผู้เสียชีวิต