อ่าน

กฎหมายทรมานกับการป้องกันซ้อมทรมาน

เวทีพูดคุยแลกเปลี่ยนการออกกฎหมายป้องกันการซ้อมทรมาน เพื่อให้มีประสิทธิผลสูงสุดในการป้องกันการซ้อมหรือทรมานผู้ต้องหาของเจ้าหน้าที่รัฐ  
อ่าน

เสียงจากคนทำงานใต้

นับตั้งแต่เหตุการณ์ปล้นปืน ในปี 2547 ที่ค่ายกองพันพัฒนาที่สี่ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส เป็นต้นมา ชาวบ้านใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ต้องเผชิญกับความไม่สงบอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลได้ประกาศใช้กฎอัยการศึก และพระราชกำหนดบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินมาอย่างต่อเนื่องยาวนานเพื่อคุมสถานการณ์ รวมทั้งมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติความมั่นคงในราชอาณาจักร ในบางอำเภอของจังหวัดสงขลา แต่จนถึงปัจจุบัน เหตุการณ์ความไม่สงบก็ยังเกิดขึ้นต่อเนื่อง ชาวบ้านยังต้องอยู่อย่างไม่ปลอดภัย เกิดความหวาดระแวงซึ่งกันและกัน ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่รัฐ หร
อ่าน

คดีความมั่นคงชายแดนใต้ลดลง การซ้อมทรมานยังคงอยู่

ศูนย์ทนายความมุสลิมชี้ ทางการต้องยกมาตรฐานการทำงานของเจ้าหน้าที่ระดับล่าง พร้อมทั้งให้มีระบบตรวจสอบเพื่อแก้ปัญหาการซ้อมทรมารรีดเอาคำสารภาพ ซึ่งใช้ไม่ได้ผลในชั้นศาล แต่รังแต่จะถ่างช่องว่างระหว่างรัฐกับชาวบ้านให้กว้างขึ้น  
iLaw Seminar
อ่าน

สรุปการเสวนา “อำนาจประชาชนพิชิตอำนาจรัฐ”

งานเสวนาสาธารณะครั้งแรกของไอลอว์ ได้มติเดินหน้ายกเลิกกฎหมายด้านความมั่นคง 3 ฉบับ คือ ความมั่นคง-กฎอัยการศึก-พ.ร.ก.ฉุกเฉิน ค้านออกกฎหมายคุมการชุมนุม
อ่าน

ทำกฎหมาย คุ้มครองผู้ต้องหาไม่ให้ถูกซ้อม

ที่มาภาพ : thukral เป็นเรื่องที่ปฏิเสธไม่ได้ว่า การซ้อมหรือทรมาน ‘ผู้ต้องหา’ หรือ ‘ผู้ถูกคุมขัง’ โดยเจ้าหน้าที่รัฐ เพื่อให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับการกระทำความผิด หรือเพื่อบังคับให้รับสารภาพ เป็นปรากฏการณ์ที่พบเห็นอยู่บ่อยครั้งในบ้านเมืองของเรา