53269463494_83b4c902be_k
อ่าน

ศาลจำคุกอดีตสามเณรโฟล์กสองปี กรณีปราศรัยตั้งคำถามคำสอนศาสนาเกี่ยวกับพระราชาเข้าข่ายผิดมาตรา 112

19 ตุลาคม 2566 เวลา 10.10 น.
53247771081_34709ae7dc_o
อ่าน

ศาลเชียงใหม่จำคุก ตี้-วรรณวลี ด้วยมาตรา 112 และพรบ.คอมพิวเตอร์ฯ 2 ปี 8 เดือน แต่ยกฟ้องจำเลยร่วมอีก 2 คน

10 ตุลาคม 2566 เวลา 10.50 น.
53245156893_1b2e8c0588_o
อ่าน

112 in numbers: รวมตัวเลขเกี่ยวกับมาตรา 112 ที่มีคำพิพากษาแล้ว

    จนถึงวันที่ 5 ตุลาคม 2566 ศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนรายงานว่า มีผู้ถูกดำเนินคดีตามมาตรา 112 จำนวน 258 คนใน 280 คดี  ระหว่างนี้หลายคดีขึ้นสู่ชั้นพิจารณาและถึงที่สุดแล้ว ชวนทุกคนย้อนดูตัวเลขที่เกี่ยวข้องกับมาตรา 112 ที่มีคำพิพากษาแล้ว    
53214982455_a30af235cd_h
อ่าน

จำคุก 4 ปี ‘ทนายอานนท์’ กรณีปราศรัยเรื่องการสลายการชุมนุมโดยพาดพิงรัชกาลที่สิบ

26 กันยายน 2566 เวลา 9.00 น.
อ่าน

สามคดีศาลพิพากษาตรงกัน ไม่พิมพ์ลายนิ้วมือไม่ผิด เมื่อไม่มีเหตุจำเป็น

แม้ว่าทางปฏิบัติทั่วไปของตำรวจทุกสถานี เมื่อจับกุมผู้ต้องหาได้ หรือผู้ต้องหาไปรายงานตัวและแจ้งข้อกล่าวหาแล้ว ก็จะให้ผู้ต้องหาพิมพ์ลายนิ้วมือทั้งสิบนิ้วด้วยหมึกสีดำลงบนกระดาษเพื่อเก็บไว้เป็นเอกสารในสำนวนคดีนั้น แต่อีกด้านหนึ่งลายพิมพ์นิ้วมือก็นับเป็นข้อมูลส่วนบุคคลที่มีความอ่อนไหว ตามพ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ด้วย ทางปฏิบัติเช่นนี้จึงเป็นประเด็นที่ถูกตั้งคำถามในยุคสมัยที่เปลี่ยนไป
70179294_10162443478460551_76756953979682816_n
อ่าน

Change.NCPO “แม่หนึ่ง” จากแม่นักกิจกรรมคนหนึ่ง สู่จำเลยสองคดีการเมืองยุค คสช.

เท่าที่แม่จำได้ นิวน่าจะเริ่มทำกิจกรรมช่วงปี 2554 สมัยที่เรียนอยู่ปี 2 ที่ธรรมศาสตร์ ตอนแรกแม่ก็นึกว่านิวทำกิจกรรมแบบนักศึกษาทั่วไปอย่างออกค่ายชนบท แต่ไปๆมาๆก็รู้สึกว่ากิจกรรมของลูกออกจะแหวกแนวไปบ้าง แต่ก็ไม่ได้ห้ามลูกนะแค่เตือนว่าทำกิจกรรมยังไงก็อย่าทิ้งการเรียน ครั้งแรกที่นิวถูกจับคือตอนไปทำกิจกรรมเลือกตั้งที่(รัก)ลักที่หน้าหอศิลป์ จำได้ว่าตอนนั้นแม่กำลังทำงานอยู่นิวโทรมาบอกว่า “แม่มาหานิวหน่อยได้ไหม” แม่ก็บอกว่าได้ ให้ไปหาที่ไหน นิวก็บอกเสียงนิ่งๆว่าสน.ปทุมวัน พอรู้เรื่องแม่ก็รู้สึกเครียดมาก ร้องไห้เหมือนคนบ้าเลย ตอนนั้นก็ยังไม
อ่าน

มองบรรทัดฐานจากศาล ในคำพิพากษาคดีสมยศ

สมยศ พฤกษาเกษมสุข ถูกตัดสินจำคุก 10 ปี ตามมาตรา112  เพราะเป็นบรรณาธิการนิตยสารที่ตีพิมพ์บทความสองบท คำพิพากษาของศาลบอกเราว่า ข้อความใด“หมิ่นฯ”หรือไม่นั้นโจทก์และจำเลยต้องนำสืบ และศาลยืนยันว่าบรรณาธิการสิ่งพิมพ์ต้องรับผิดในเนื้อหา