photo1646357409
อ่าน

คุยกับนรินทร์ จำเลยคดีสติกเกอร์ กูKult: ความหวังที่มีก่อนมาศาล สูญสิ้นไปหลังการสืบพยาน

หลังการสืบพยานคดีประมวลกฎหมายอาญามาตรามาตรา 112 ของนรินทร์ ผู้ถูกกล่าวหาว่า ติดสติกเกอร์ กูkult ที่ศาลอาญาระหว่างวันที่ 22-24 กุมภาพันธ์ และวันที่ 1 มีนาคม 2565 เสร็จสิ้นลง นรินทร์ได้เล่าให้ไอลอว์ฟังถึงความคิด ความเชื่อของเขาต่อกระบวนการยุติธรรมไทย ตั้งแต่ก่อนจะเริ่มเข้ากระบวนการสืบพยาน จนถึงจบการสืบพยาน และสิ่งที่เขาเตรียมตัวก่อนที่ศาลจะมีคำพิพากษาในคดีของเขาซึ่งเกิดขึ้นในระยะเวลาอันสั้นเพียงสามวันหลังการพิจารณาคดีนัดสุดท้าย ก่อนเข้ากระบวนการ: ยังเชื่อมั่นกับกระบวนการยุติธรรมไทยเพราะไม่เคยสัมผัสมาก่อน “ก่อนจะถึงการสืบ
IMG_1716
อ่าน

เก็บตกการสืบพยาน คดีติดสติกเกอร์ กูkult กับการต่อสู้คดีที่เต็มไปด้วยข้อจำกัด

วันที่ 22-24 กุมภาพันธ์ และวันที่ 1 มีนาคม 2565 ศาลอาญารัชดานัดสืบพยานคดีประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ของ นรินทร์ คดีนี้จำเลยถูกกล่าวหาว่าติดสติกเกอร์ “กูkult” ซึ่งเป็นโลโก้เพจเสียดสีการเมืองเพจหนึ่งบนพระบรมฉายาลักษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ซึ่งติดตั้งอยู่ที่หน้าศาลฎีกาที่มีการชุมนุม #19กันยาทวงอำนาจคืนราษฎร หลังกระบวนการสืบพยานเสร็จสิ้นในวันที่ 1 มีนาคม 2565 ศาลอาญานัดฟังคำพิพากษาในวันศุกร์ที่ 4 มีนาคม 2565 ซึ่งเท่าที่ไอลอว์มีข้อมูล การนัดฟังคำพิพากษาคดีนี้น่าจะเร็วที่สุดในบรรดาคดีมาตรา 112 ที่พิจารณาโดยศาลอาญาและจำเลยให้การปฏิเสธ
51366070942_37282763e8_o
อ่าน

สรุปคำฟ้อง สื่อมวลชนร้องศาลห้ามตำรวจยิงกระสุนยาง งดใช้ความรุนแรงในพื้นที่ชุมนุม

ภาคีนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนระบุว่าขณะนี้มีคดีที่สื่อมวลชนที่ได้รับผลกระทบเป็นโจทก์ฟ้องเจ้าหน้าที่รัฐจากการใช้กระสุนยาง จำนวน 2 คดี คือ จากเหตุการณ์การสลายการชุมนุม #ม็อบ20มีนา และ #ม็อบ18กรกฎา โดยทั้งสองคดีนั้น มีคำขอให้ศาลสั่งห้ามเจ้าหน้าที่ตำรวจใช้ความรุนแรงในการสลายการชุมนุม  
Gender-Based Violence Online towards female politicians and activists
อ่าน

เพศสภาพ/เพศวิถี เครื่องมือก่อความรุนแรงบนพื้นที่ออนไลน์ต่อนักการเมือง/นักกิจกรรมหญิง

รศ.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ อาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้นำเสนอรายงานการวิจัยเรื่อง “เกลียด/โกรธ/กลัว: ความรุนแรงทางเพศ/เพศสภาพในพื้นที่ออนไลน์” ระบุว่า จากผลการศึกษา “รัฐ” เป็นส่วนหนึ่งในการใช้ความรุนแรงออนไลน์ต่อนักการเมืองเพศหญิงด้วย ผ่านการใช้สื่อประณามหรือประจานนักการเมืองหญิง  
International Standards
อ่าน

“หลักสากล” สำหรับการชุมนุมและการสลายการชุมนุม

ชวนดูหลักกฎหมายระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับเสรีภาพในการชุมนุม และหลักปฏิบัติหากเจ้าหน้าที่จะสลายการชุมนุม หลังจากมีการสลายการชุมนุมของ "คณะราษฎร63" เมื่อช่วงค่ำวันที่ 16 ต.ค.ที่ใต้สถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสสยาม
eakapant
อ่าน

สันติวิธีหายไปไหน? เมื่อมีความรุนแรงต่อนักกิจกรรม คุยกับ ดร.เอกพันธุ์ ปิณฑะวณิช

ท่ามกลางบรรยากาศทางการเมืองที่ยังตึงเครียดไม่หาย และนักกิจกรรมทางการเมืองถูกดักทำร้ายร่างกาย ดร.เอกพันธุ์ ปิณฑวณิช แนะนำให้เราสำรวจตัวเองว่า ยังเชื่อในทางแก้ไขปัญหาแบบสันติวิธีหรือไม่ พร้อมอธิบายว่า สันติวิธีก็คล้ายกับหมอกับคนไข้ หลังจากแนะนำไปแล้วอยู่ที่จะนำไปปฏิบัติต่อหรือไม่      
Chula
อ่าน

จับตาสังคมไทยในยามที่ความขัดแย้งกำลังเปลี่ยนผ่านไปสู่การใช้ความรุนแรง

ความขัดแย้งทางการเมืองที่ยืดเยื้อยาวนานส่งผลให้ปัจจุบันสังคมไทยเผชิญหน้าความรุนแรงในรูปแบบต่างๆ มีการคุกคามทำร้ายนักกิจกรรมทางการเมือง มีการใช้ถ้อยคำยั่วยุปลุกปั่นให้เกิดความเกลียดชังซึ่งกันและกันมากขึ้น ด้วยเหตุนี้ ทำให้ 'จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย' จัดเสวนาวิชาการในหัวข้อ "ทุเลาความรุนแรงและความเกลียดชังในสังคมไทย" เพื่อมองหาแนวทางการแก้ปัญหาความขัดแย้งอย่างเป็นรูปธรรมที่สุดเท่าที่จะพอมองหาได้ในขณะนี้
no violence
อ่าน

ก่อนท้องฟ้าจะสดใส: ความรุนแรงต่อผู้เห็นต่างทางการเมืองคือบทพิสูจน์ความจริงใจของรัฐบาลใหม่

หากรัฐบาลใหม่ต้องการจะพิสูจน์ความจริงใจในการฟื้นฟูหลักนิติรัฐ จะต้องรักษาสถานการณ์ไม่ให้เกิดความรุนแรงต่อผู้ที่แสดงความเห็นต่างทางการเมือง
17352221_10212606479504949_7193661068408004131_n
อ่าน

กรณีตบหน้าสู่ฆาตฯวิสามัญ: ความรุนแรงที่แฝงเร้นลอยนวล

หลังดอยหลวงเชียงดาวอันสวยงาม ยังมีกรณีการใช้ความรุนแรงต่อกลุ่มชาติพันธ์เสมอมา ซึ่งชัยภูมิ ป่าแส ไม่ใช่กรณีแรกและอาจจะไม่ใช่กรณีสุดท้าย
อ่าน

เปิดดูวิจัย การรังแกกลุ่มนักเรียน LGBT ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาของไทย

รายงานการวิจัยเผยให้เห็นว่านักเรียน 'LGBT' มากกว่าครึ่งเคยถูกรังแกเพราะว่าเป็น 'LGBT' และ 1 ใน 4 ของนักเรียนที่ถูกมองว่าเป็น 'LGBT' ก็ถูกรังแกด้วยสาเหตุเดียวกัน