Comparison of 3 Gender Recognition Bills
อ่าน

เปิดข้อเสนอรับรองอัตลักษณ์ทางเพศ-คำนำหน้า จากร่างกฎหมาย 3 ฉบับ

กฎหมายไทยยังคงรับรองสิทธิบุคคลยึดโยงตามเพศในระบบสองเพศ ภาคประชาชน หน่วยงานรัฐ รวมถึงสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร ต่างก็มีข้อเสนอออกมาเป็นร่างกฎหมาย เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว เป็นร่างกฎหมายสามฉบับ แม้หลักการสำคัญคือการรับรองสิทธิรับรองอัตลักษณ์ทางเพศ และสิทธิของ Intersex แต่รายละเอียดปลีกย่อยแตกต่างกัน
Law Petition - gender recognition bill
อ่าน

ประชาชนเสนอกฎหมายรับรองอัตลักษณ์ทางเพศสภาพ คำนำหน้า-เอกสารราชการยึดตามเจตจำนง

กฎหมายยังไทยที่เป็นอยู่ยังยึดโยงกรอบสองเพศ และไม่รับรองสิทธิและสถานะของผู้มีความหลากหลายทางเพศ ภาคประชาชน ใช้กลไกการเข้าชื่อเสนอกฎหมาย เพื่อเข้าชื่อเสนอร่างพ.ร.บ.รับรองอัตลักษณ์ทางเพศสภาพฯ หรือ GEN-ACT ต่อสภาผู้แทนราษฎร
52503647090_d87c7200fe_o
อ่าน

RECAP 112 : ชวนรู้จักคดี “สามราษฎรใต้ : ข้าว-ฝน-เตย” ถูกกล่าวหาว่าทำผิด 112 ช่วงก่อน ร.10 เสด็จไปพัทลุง

(1) ข้าว-ฝน-เตย เป็นใคร?? ศุภกร หรือ ข้าว, อลิสา หรือ ฝน และ ชมพูนุท หรือ เตย ทั้งสามคนมีจุดร่วมกันคือเป็นนักกิจกรรมในกลุ่ม “ราษฎรใต้” ศึกษาที่มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (ม.อ.) และเป็นสายกิจกรรม ร่วมกิจกรรมต่างๆ ในรั้วมหา’ลัย แต่พื้นเพและความสนใจบางเรื่องของทั้งสามคนก็แตกต่างกัน ข้าว นิยามตัวเองในอดี
52497973212_d88d40a7c5_o
อ่าน

Recap : วรเจตน์ ฝากนักกฎหมายในระบบราชการ ยึดหลักวิชาชีพจะบรรเทาวิกฤติ 112

13 พฤศจิกายน 2565 ที่ห้องพูนศุข วิทยาลัยนานาชาติปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ มูลนิธิสิทธิอิสรา จัดเสวนาสาธารณะหัวข้อ “112 กับ สถาบันกษัตริย์ : 1 ทศวรรษเพื่อการทบทวน” โดยศาสตราจารย์วรเจตน์ ภาคีรัตน์ อาจารย์ประจำคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และหนึ่งในอาจารย์กลุ่ม “นิติราษฎร์” ที่ผลิตชุดข้อเสนอเพื่อการรณรงค์แก้ไขประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112  ปลายปี 2564 ข้อเสนอ “ยกเลิก 112” ถูกจุดขึ้นท่ามกลางบรรยากาศที่มาตรา 112 ถูกนำมาใช้กับผู้ชุมนุม หลายคดียังเดินหน้าไปตามกระบวนการ ในปี 2565 หลายคดียังไม่มีทิศทางชัดเจนว่าจะเป็นอย่างไร ในขณะที่ข้อเสนอ
52070972027_6e749d06f4_o
อ่าน

8 ปี ไม่เปลี่ยนผัน อานนท์ นำภา จากจำเลยคดีชุมนุมสู่ผู้ต้องขังคดี 112

รัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557 เวียนมาครบรอบแปดปีในวันที่ 22 พฤษภาคม 2565 ระยะเวลาแปดปีที่ผ่านมามีความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในประเทศนี้หลายประการ เช่น พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ผันตัวจากหัวหน้าคณะรัฐประหารมาเป็นนายกรัฐมนตรีที่เข้าสู่อำนาจตามกลไกปกติรัฐธรรมนูญ 2560 พล.อ.ประวิตร วงษ์สุวรรณ พี่ใหญ่ คสช.ผันตัวเป็นนักการเมืองแบบเต็มตัวด้วยการสมัครเป็นสมาชิกและขึ้นดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคพลังประชารัฐ ขณะเดียวกันสภานิติบัญญัติแห่งชาติ สภาจากการแต่งตั้งของคสช.
10 iss
อ่าน

สิบเรื่องแปลก ในกระบวนการยุติธรรมของคดี 112 ยุค 2563-2565

  ตั้งแต่พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ประกาศใช้บังคับกฎหมาย “ทุกฉบับ ทุกมาตรา” กับผู้ชุมนุมทางการเมือง เมื่อวันที่ 19 พฤศจิกายน 2563 สถิติการดำเนินคดีประชาชนด้วยข้อหาหมิ่นประมาท ดูหมิ่น แสดงความอาฆาตมาดร้าย พระมหากษัตริย์ พระราชินี รัชทายาท หรือผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ก็พุ่งสูงขึ้น เป็นยุคสมัยที่มาตรานี้ถูกนำมาใช้มากที่สุดในประวัติศาสตร์ เมื่อคดีมาตรา 112 มีความละเอียดอ่อนเพราะมีมิติที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อความศรัทธาประ
52063392829_4625204871_h
อ่าน

‘ยก 2 ลง 2’ เปิดคำพิพากษาคดี 112 นับถึงพฤษภาคม 2565

ความผิดฐานหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นกฎหมายที่ถูกนำมาใช้ดำเนินคดีผู้ที่แสดงออกทางการเมืองอย่างต่อเนื่อง คดีของอำพลหรือ ‘อากง SMS’ ดารณีหรือ ‘ดา ตอร์ปิโด’ และสมยศ พฤกษาเกษมสุข คือตัวอย่างของคดีมาตรา 112 ที่เกิดขึ้นเป็นคดีแรกๆในช่วงปี 2551-2554 หลังการรัฐประหารในวันที่ 22 พฤษภาคม 2557 ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ถูกคณะรักษาความสงบแห่งชาตินำมาใช้อย่างเข้มข้นและเป็นระบบกับผู้ที่แสดงออกทางการเมืองจนทำให้ตลอดระยะเวลากว่า 5 ปี ที่คสช.อยู่ในอำนาจ มีคนถูกตั้งข้อกล่าวหาด้วยมาตรา 112 อย่างน้อย
51565955459_f93570dd57_o
อ่าน

มาตรา 112: ทางเลือกและทางออกของสังคมไทย

ปัญหาจากตัวบทกฎหมายของประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 112 ที่ทำให้ขอบเขตการตีความเพื่อจำกัดเสรีภาพในการแสดงออกเป็นไปอย่างกว้างขวาง ทำให้กฎหมายที่ควรจะมีหน้าที่ในการผดุงความยุติธรรม กลับกลายเป็นเครื่องมือในการจำกัดสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกทางการเมือง  ดังนั้น คำถามสำคัญแห่งยุคสมัย คือ เรามีทางออกหรือทางเลือกในสถานการณ์นี้หรือไม่ ในบทความนี้จึงรวบรวมข้อมูลและอยากชวนทุกคนทบทวนข้อเสนอเกี่ยวกับการแก้ไขหรือยกเลิกมาตรา 112 เท่าที่ปรากฏออกมาสู่สาธารณะ ด้วยความหวังว่าจะนำไปสู่ข้อยุติและแนวทางแก้ปัญหาความอยุติธรรมในนามของความจงรักภักดี &nbs
51551193057_28951ae757_o
อ่าน

มาตรา 112: มรดกจากยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ถึงหลังเหตุการณ์ 6 ตุลาฯ

หากย้อนไปสำรวจประวัติศาสตร์ชาติไทยก็จะพบว่า ความผิดฐานหมิ่นพระมหากษัตริย์ฯ นั้นมีมาตั้งแต่ยุคก่อตั้งกรุงรัตนโกสินทร์ โดยพบเป็นกฎหมายลายลักษณ์อักษรครั้งแรกใน ‘กฎหมายตราสามดวง’ สมัยรัชกาลที่ 1 ก่อนจะมีการปรับเปลี่ยนแก้ไขตามบริบทและพลวัตรทางสังคมและการเมืองเรื่อยมา จากเดิมที่มุ่งคุ้มครองทั้งตัวพระมหากษัตริย์และพระราชอำนาจอย่างกว้างขวางตามแบบฉบับการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ก็ค่อยๆ ถูกปรับแก้ให้มุ่งคุ้มครองเฉพาะองค์พระมหากษัตริย์ในฐานะประมุขของรัฐ เพื่อให้สอดคล้องกับระบอบประชาธิปไตย แต่ก็ใช่ว่าการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวกับความผิดฐานหมิ่นพระมหากษัตริย์ฯ ท