พรกฉุกเฉิน
อ่าน

แถลงการณ์ คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ เรื่อง เรียกร้องให้ยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง

คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ ออกแถลงการณ์เรื่อง เรียกร้องให้ยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในเขตท้องที่กรุงเทพมหานครเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2563 
Pranom2
อ่าน

คุยกับคนอยากเลือกตั้ง: “ป้าอึ่ง” ห้าคดีจากการมา “ช่วยน้องๆ”

ป้าอึ่ง หญิงวัยกลางคน บุคลิกยิ้มแย้มอารมณ์ดี ผู้มีเอกลักษณ์เด่นประจำตัว คือ แว่นตากรอบสีแดงสดใส เป็นหนึ่งในจำนวนป้าหลายคนที่ออกมาร่วมกิจกรรมต่างๆ เพื่อเรียกร้องให้คณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) จัดการเลือกตั้งในปี 2561
IMG_3815
อ่าน

เปิดตัวคู่มือปกป้อง “สิทธิในการประท้วง” สิทธิที่หายไปใน 4 ปีที่ผ่านมา

2 พฤษภาคม 2561 คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ , วิทยาลัยโลกคดีศึกษา (School of Global Studies) มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสำนักงานสัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาชธิปไตย รวมกันจัดเสวนา “สิทธิในการประท้วง: หลักการปกป้องสิทธิมนุษยชนในการประท้วง” และเปิดตัวหนังสือคู่มือสิทธิในการประท้วง ฉบับภาษาไทย ซึ่งจัดทำโดยองค์กรพัฒนาเอกชน ARTICLE 19 
Assembly Law
อ่าน

กฎหมายห้ามชุมนุมในยุค คสช.

ในยุค คสช. ประเทศไทยมีกฎหมายที่เจ้าหน้าที่จะเลือกหยิบมาใช้เพื่อห้ามการชุมนุม หรือเพื่อดำเนินคดีเอาผิดกับคนที่จัดการชุมนุมอยู่หลากหลายมาก
อ่าน

เปรียบเทียบ ประกาศ คปค. 2549 vs ประกาศ คสช. 2557

ประกาศของคสช.หลายฉบับ มีผลกระทบต่ออนาคตการเมืองไทยอย่างมาก เช่น การห้ามชุมนุมทางการเมือง การห้ามพรรคการเมืองทำกิจกรรม คณะรัฐประหารชุดก่อนๆ ก็มีประกาศลักษณะนี้ แต่ลองดูเปรียบเทียบกับการรัฐประหารครั้งก่อน จะเห็นว่า ประกาศเหล่านี้ไม่ได้ใช้อยู่นานนัก
อ่าน

พ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะฯ ไม่แจ้ง-ไม่เชื่อฟัง เตรียมโดนข้อหา

ภายใต้กฎหมาย พ.ร.บ.ชุมนุมสาธารณะ ผู้จัดการชุมนุมต้องแจ้งเจ้าหน้าที่ตำรวจให้ทราบล่วงหน้า 24 ชั่วโมง ก่อนการชุมนุม อีกทั้งห้ามชุมนุมในบางพื้นที่และมีข้อควรระวังระหว่างการชุมนุม มิเช่นนั้นจะถือว่า เป็นการชุมนุมที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย และเจ้าหน้าที่สามารถเข้าสลายพร้อมทั้งจับกุมดำเนินคดีได้ทันที ทำให้ที่ผ่านมามีหลายกรณีที่ประชาชนพยายามจะใช้สิทธิตามกฎหมาย แต่ก็ถูกเจ้าหน้าที่เข้ามาแทรกแซงการชุมนุม รวมถึงถ้าไม่ปฏิบัติตามคำแนะนำของเจ้าหน้าที่ก็มีสิทธิถูกเจ้าหน้าที่รวบรัดขั้นตอนจับกุมตั้งข้อหาอีกต่างหาก