SMS Spam lost money
อ่าน

กรณีผู้บริโภคได้รับ SMS และเสียค่าบริการ โดยที่ไม่ได้สมัครใช้บริการ

คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดให้มีวิชาหลักวิชาชีพนักกฎหมายโดยให้นักศึกษาทำโครงงานกฎหมายเพื่อช่วยเหลือหรือให้คำแนะนำแก่ประชาชน กลุ่มหนึ่งในวิชานี้เลือกหัวข้อ "SMS กินตังค์" ซึ่งเป็นหัวข้อเกี่ยวกับผู้ประกอบการโทรคมนาคมส่ง SMS ให้แก้ผู้บริโภคโดยผู้บริโภคไม่ได้สมัครใช้บริการและเป็นเหตุให้ผู้บริโภคเสียค่าบริการ
NBTC Panel Discussion
อ่าน

นักวิชาการเผย กสทช. กลายเป็นกลไกคุมเข้มทีวีการเมือง

ในงานเสวนาหัวข้อ “กฎหมาย VS การทำรายการโทรทัศน์” ตัวแทนจากฝั่งวิชาชีพสื่อ นักวิชาการ และกสทช. เห็นตรงกันว่า สามปัจจัยหลักที่จำกัดเสรีภาพสื่อโทรทัศน์ ได้แก่ ปัญหาการตีความมาตรา 37 กระบวนการคัดแยกเรื่องร้องเรียน และการที่คสช. ใช้ กสทช. เป็นกลไกในการควบคุมทีวีการเมือง 
อ่าน

2014 Situation Summary Report 5/5: Self-censorship, restricted access to online media, and the shutdown of community radio before and after the coup

At the beginning of 2014, the heated protests of the People’s Democratic Reform Committee (PDRC), which had begun in November 2013, were ongoing. The protests continued until 20 May 2014 when the Royal Thai Army claimed that the PDRC and other political protests could lead to unrest and violence and therefore declared martial law.
อ่าน

สรุปสถานการณ์ปี 2557 5/5 : เก็บตกเหตุการณ์ก่อน-หลังรัฐประหาร การเซ็นเซอร์ตัวเอง การปิดกั้นสื่อออนไลน์ การปิดวิทยุชุมชน และอื่นๆ

ปี 2557 ประเทศไทยเปิดศักราชด้วยบรรยากาศทางการเมืองที่ร้อนแรง โดยเฉพาะการนำสื่อมาใช้เป็นเครื่องมือในการต่อสู้ทางการเมือง นำไปสู่การควบคุมสื่อของทั้งฝ่ายรัฐและฝ่ายประชาชน สำหรับฝ่ายรัฐ กสทช.
Cyber bill set
อ่าน

หมายศาลก็ยังไม่พอ!: ต่อประเด็นถกเถียง “ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล”

กระแสคัดค้าน "ชุดกฎหมายความมั่นคงดิจิทัล" ทำให้ผู้ร่างกฎหมายยืนยันว่าจะมีการแก้ไข และยังย้ำว่าร่างกฎหมายนี้จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องออกในช่วงเวลานี้ ต่อประเด็นข้างต้น iLaw จึงขอนำประเด็นถกเถียงที่เกิดขึ้นมาตอบ เพื่อสร้างข้อถกเถียงใหม่ที่จะเป็นประโยชน์ต่ออนาคตของ "ชุดกฎหมายความมั่งคงดิจิทัล" ต่อไป
อ่าน

ประกาศแนวทางจัดเรตรายการโทรทัศน์ : จัดเรตแล้วจะยังต้องแบนอีกไหม?

กสทช.ออกหลักเกณฑ์การจัดทำผังรายการโทรทัศน์ก็แล้ว ออกแนวทางการจัดเรตรายการโทรทัศน์ก็แล้ว ปัญหาต่างๆ ยังคงอยู่หรือไม่? ประกาศทั้งสองฉบับแก้ปัญหาเดิม-ปกป้องเยาวชน-ส่งเสริมสื่อสร้างสรรค์ได้หรือไม่? อำนาจการแบนยังมีความจำเป็นอยู่หรือไม่?
NBTC
อ่าน

เปิดงบประมาณกสทช. บริจาคเพื่อการกุศลสูงสุด – นักกม.เตือนระวังกม.ปปช.

NBTC Policy Watch เปิดรายงานการใช้ทรัพยากรของหน่วยงานกำกับดูแล พบ กสทช.ใช้เงินงบประมาณไม่ตอบวัตถุประสงค์ บริจาคเพื่อการกุศลสูงสุด รองลงมาเดินทางไปต่างประเทศ นักวิชาการชี้ กสทช.ควรใช้เงินไปเพื่อพัฒโทรคมนาคมและกระจายเสียงให้มีประสิทธิภาพ 
IMG_4493
อ่าน

นักกฎหมายสับเละ ร่างประกาศกสทช. ไม่ชอบธรรม-ละเมิดเสรีภาพสื่อ-ทำเกินหน้าที่

หลังร่างประกาศ กสทช.ออกมา ก็มีกระแสวิพากษ์วิจารณ์ถึงเนื้อหาที่กำหนดการห้ามออกอากาศตามมาตรา 37 ของพ.ร.บ.การประกอบกิจการโทรทัศน์ฯ ว่าเป็นการลิดรอนเสรีภาพสื่อ ทั้งที่มาของร่างนี้ก็เป็นที่เคลือบแคลงว่า กสทช.มีอำนาจในการออกหรือไม่ กสทช.จึงจัดงานเสวนา "เสรีภาพสื่อ VS การใช้กฎหมายกำกับดูแล" เพื่อรับฟังความเห็นต่อร่างประกาศฉบับนี้
privacy threatened
อ่าน

เวทีสาธารณะ: เพื่อความมั่นคงของรัฐและความปลอดภัยสาธารณะ จะต้องสังเวยด้วยสิทธิส่วนบุคคลจริงหรือ?

หลังจากมีกระแสวิพากวิจารณ์ต่อกรณีที่กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเทคโนโลยี อาจมีนโยบายควบคุมการสื่อสารผ่านโปรแกรมไลน์ โดยหลายฝ่ายมองว่าอาจเป็นการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลได้ กสทช. ในฐานะองค์กรกำกับดูแลจึงได้จัดให้มีเวทีสาธารณะเพื่อแลกเปลี่ยนและพูดคุยกันต่อประเด็นนี้
อ่าน

ท้ากสทช. ถ้าแพ้คดี เอาตำแหน่งเป็นเดิมพัน

ผจก.วิทยุจุฬาฯ ชี้ กสทช.ฟ้องหมิ่นสื่อ เท่ากับทำลายระบบการกำกับดูแลตนเองของสื่อ ท้าเดิมพันตำแหน่งของกสทช. หากศาลตัดสินว่าสื่อไม่มีความผิด นักกฎหมายชี้เป็นสิทธิในการฟ้อง แต่ไม่ควรใช้