coputertum2
อ่าน

พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 14(1) ยาแรงผิดขนานสำหรับการหมิ่นประมาทออนไลน์

*หมายเหตุ* พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ถูกแก้ไขในปี 2560 และมาตรา 14(1) ถูกแก้ไขไปแล้ว เนื้อหาในบทความนี้จึงมีส่วนที่ไม่ทันสมัยต่อกฎหมายที่เปลี่ยนแปลงไป
อ่าน

เกณฑ์การกักตัวตามกฎอัยการศึก 7 วันนับอย่างไร?

หลังการรัฐประหาร2557 มีคนถูกเรียกไปรายงานตัวและถูกจับกุมรวมหลายร้อยคน หลายคนไม่กี่วันก็ออก หลายคนออกเมื่อครบ 7 วันเต็ม เท่าที่ทหารจะมีอำนาจเอาตัวไว้ มาดูเงื่อนไขการควบคุมตัว 7 วันตามกฎอัยการศึก และวิธีการนับ 7 วัน นับอย่างไร
Treatment manual-03
อ่าน

คู่มือการปฏิบัติตามคำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)

เตรียมตัวรักษาสิทธิของตัวเอง ภายใต้สถานการณ์การเมืองที่ไม่ปกติ กรณีถูกเรียกไปรายงานตัว ถูกจับกุม ถูกเจ้าหน้าที่ซักถาม ถูกควบคุมตัว หรือการเตรียมตัวก่อนออกไปชุมุนม
อ่าน

รวมปฏิกิริยาหลังประกาศกฎอัยการศึก

ผ่านมาแล้วประมาณวันครึ่งสำหรับการประกาศกฎอัยการศึก iLaw รวบรวมปฏิกิริยาจากบุคคลและกลุ่มบุคคลของกลุ่มต่างๆ ที่เกิดขึ้นในสังคม โดยรวบรวมจากสื่อออนไลน์ และสื่อต่างๆ ที่น่าใจมาสรุปให้เห็นเคลื่อนไหวในช่วง 24 ชั่วโมงแรกของกฎอัยการศึก โดยสังเขป 
Alan Morison2
อ่าน

“ภูเก็ตหวาน” คดีบรรทัดฐานของเสรีภาพสื่อกับมาตรา 14(1)

คดี “ภูเก็ตหวาน” หรือคดีที่สำนักข่าว Phuketwan ถูกกองทัพเรือฟ้อง แสดงให้เห็นว่า “พ.ร.บ.คอมฯ” หรือ ที่ชื่อเต็มว่า พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 กำลังก้าวเข้ามาเล่นบทบาทเป็นกฎหมาย “ปิดปากสื่อ” อย่างจริงจังและชัดเจนขึ้นเรื่อยๆ โดยเฉพาะในยุคที่สื่อออนไลน์เติบโตมาเป็นเครื่องมือให้สำนักข่าวเล็กๆ หรือสำนักข่าวท้องถิ่นมีพื้นที่ส่งออกเรื่องราวของตัวเองบ้าง
อ่าน

เคอร์ฟิว! มาตรการใหม่หน้าเก่า กับสิทธิพลเมืองของคนในสามจังหวัดภาคใต้

หลังทหารปะทะกับกองกำลังติดอาวุธในพื้นที่สามจังหวัดภาคใต้ เมื่อ 13 กุมภาพันธ์ 56 แม่ทัพภาคที่ 4 ประกาศเคอร์ฟิวในพื้นที่ 6 ตำบลเป็นเวลา 24 ชั่วโมง เคอร์ฟิวคืออะไร? เคอร์ฟิวเคยใช้แก้ปัญหาอะไร? เคอร์ฟิวเป็นการแก้ปัญหาที่ถูกจุดหรือไม่ สิทธิของคนในพื้นที่จะเป็นอย่างไร
Jon Ungphakorn
อ่าน

จอน อึ๊งภากรณ์: กระบวนการยุติธรรมมีปัญหาในการให้ความเป็นธรรมในสังคม

จอนเสนอ ทิ้งกฎหมายเพิ่มอำนาจรัฐเช่นชุดกฎหมายด้านความมั่นคง ดันกฎหมายเพิ่มอำนาจให้ประชาชน เช่นกฎหมายทุนการศึกษา รัฐสวัสดิการ และสิทธิเสรีภาพในการแสดงความเห็น และต้องไม่ลืมประเด็นสำคัญ คือการแก้ไขรัฐธรรมนูญ
อ่าน

เรื่องเล่าจากยะลา เมื่อนักกฎหมายสิทธิมนุษยชนโดนทหารบุกบ้าน

เมื่อนักกฎหมายสิทธิที่ทำงานในพื้นที่ 3จังหวัดชายแดนใต้ ถูกกำลังเจ้าหน้าที่ค้นบ้าน โดยใช้อำนาจตามกฎหมายพิเศษ
อ่าน

เสียงจากคนทำงานใต้

นับตั้งแต่เหตุการณ์ปล้นปืน ในปี 2547 ที่ค่ายกองพันพัฒนาที่สี่ อำเภอเจาะไอร้อง จังหวัดนราธิวาส เป็นต้นมา ชาวบ้านใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้ต้องเผชิญกับความไม่สงบอย่างต่อเนื่อง รัฐบาลได้ประกาศใช้กฎอัยการศึก และพระราชกำหนดบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉินมาอย่างต่อเนื่องยาวนานเพื่อคุมสถานการณ์ รวมทั้งมีการประกาศใช้พระราชบัญญัติความมั่นคงในราชอาณาจักร ในบางอำเภอของจังหวัดสงขลา แต่จนถึงปัจจุบัน เหตุการณ์ความไม่สงบก็ยังเกิดขึ้นต่อเนื่อง ชาวบ้านยังต้องอยู่อย่างไม่ปลอดภัย เกิดความหวาดระแวงซึ่งกันและกัน ไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่รัฐ หร