เศรษฐาคว้าเก้าอี้นายกฯ คนที่ 30 ด้วยมติรัฐสภา 482 เสียง
อ่าน

เศรษฐาคว้าเก้าอี้นายกฯ คนที่ 30 ด้วยมติรัฐสภา 482 เสียง

22 สิงหาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเลือก เศรษฐา ทวีสิน แคนดิเดตนายกฯ จากพรรคเพื่อไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ด้วยคะแนนเสียง เห็นชอบ 482 เสียง ไม่เห็นชอบ 165  เสียง งดออกเสียง 81 เสียง ขาดประชุม 19 คน
สว.โหวตนายกฯ​ ผิดหวังแต่ไม่ผิดคาด พลิกจุดยืนกันครั้งใหญ่
อ่าน

สว.โหวตนายกฯ​ ผิดหวังแต่ไม่ผิดคาด พลิกจุดยืนกันครั้งใหญ่

วาระสำคัญโหวตเลือกนายกฯ คนที่ 30 มีส.ว.จำนวนหนึ่งเคยออกมาประกาศแสดงจุดยืนโดยอ้างหลักการต่างๆ ว่าจะลงคะแนนเสียงสนับสนุนนายกฯ จากพรรคที่ได้เสียงอันดับหนึ่ง มาในวันจริง “กลับลำ” พลิกลิ้นกันอีกรอบหรือบางคนก็ “หายตัว” ไปอย่างไร้ร่องรอย ไม่เหมือนกับที่เคยหนักแน่นไว้
#โหวตนายกฯ พิธาเสียงไม่พอ “ยัง” ไม่ได้เป็นนายกรัฐมนตรี
อ่าน

#โหวตนายกฯ พิธาเสียงไม่พอ “ยัง” ไม่ได้เป็นนายกรัฐมนตรี

13 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภา ลงมติเพื่อเลือกนายกรัฐมนตรีคนที่ 30 “ไม่สำเร็จ” โดยเป้าหมายต้องการ 376 เสียง แม้ว่า 8 พรรคร่วมจะจับมือเหนียวแน่นเสนอพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ แต่สุดท้ายส.ว. ก็มาโหวตให้แค่ 13 คน และพรรคอื่นไม่มาเลย
รวมจุดยืน ส.ว. หนุนพิธา เคยพูดอะไร? แล้วใครกลับลำ?
อ่าน

รวมจุดยืน ส.ว. หนุนพิธา เคยพูดอะไร? แล้วใครกลับลำ?

ใกล้ถึงวันนัดชี้ชะตาประเทศว่าจะได้เดินหน้าต่อภายใต้การนำของแคนดิเดตนายกฯ จากพรรคอันดับ 1 หรือไม่ ปฏิกิริยามากมายออกมาจากฝั่ง ส.ว. ซึ่งมีหลายคนที่แสดงจุดยืนส่วนตัวแตกต่างกันไป ชวนเช็คความเห็นส.ว.ตัวแปรสำคัญอีกครั้งก่อนโหวตนายกฯ     
รวมวิวาทะ ส.ว. คิดอย่างไรเลือก “พิธา”เป็นนายก
อ่าน

รวมวิวาทะ ส.ว. คิดอย่างไรเลือก “พิธา”เป็นนายก

ในการเลือกตั้ง 14 พฤษภาคม 2566 อดีตพรรคร่วมฝ่ายค้านอย่างพรรคก้าวไกลและพรรคเพื่อไทยครองเสียงในสภามากเป็นอันดับหนึ่งและสองตามลำดับโดยมีเสียงรวมกันเกือบ 300 คน ขณะที่พรรคแกนนำรัฐบาลเดิมอย่างพรรคพลังประชารัฐได้ที่นั่ง ส.ส.เป็นอันดับที่สี่ โดยมีส.ส.เพียง 40 ที่นั่งส่วนพรรครวมไทยสร้างชาติที่ตั้งขึ้นมาใหม่เพื่อรองรับบทบาททางการเมืองของพล.อ.ประยุทธ์ นายกรัฐมนตรีรักษาการและอดีตหัวหน้าคสช.ผู้แต่งตั้งสว.
เลือกตั้ง66: รู้ไหมว่า ผบ.เหล่าทัพ มีสิทธิโหวตนายกฯ ด้วย
อ่าน

เลือกตั้ง66: รู้ไหมว่า ผบ.เหล่าทัพ มีสิทธิโหวตนายกฯ ด้วย

อย่างที่ทราบกันดีว่า การมีส่วนร่วมในการโหวตเลือกนายกฯ ของ ส.ว. ชุดพิเศษ เป็นสิ่งที่ขัดต่อหลักการประชาธิปไตย เพราะ ส.ว.ทั้งหมดมาจากการแต่งตั้ง ซึ่งไม่ได้เป็นตัวแทนของประชาชน โดยในจำนวน ส.ว. ชุดพิเศษ 250 คน มีตัวแทนจากผู้บัญชาการเหล่าทัพ 6 คน
เลือกตั้ง66: จัดตั้งรัฐบาล ขจัดขั้วอำนาจ คสช.เบ็ดเสร็จต้องซุปเปอร์แลนด์สไลด์
อ่าน

เลือกตั้ง66: จัดตั้งรัฐบาล ขจัดขั้วอำนาจ คสช.เบ็ดเสร็จต้องซุปเปอร์แลนด์สไลด์

ด้วยกติกาการเลือกนายกรัฐมนตรีที่ยังคงมีวุฒิสภาจากการแต่งตั้ง 250 คน เข้ามามีส่วนร่วม ทำให้พรรคการเมืองที่จะเป็นแกนนำในการตั้งรัฐบาล ถ้าไม่มีเสียง ส.ว.แต่งตั้งยกมือสนับสนุนก็มีแนวโน้มจะตั้งรัฐบาลยากขึ้น หรือถ้าตั้งรัฐบาลโดยใช้เสียง ส.ส. อย่างเดียวก็จะทำให้เกิดรัฐบาลผสมหลายพรรค และมีโอกาสจัดตั้งรัฐบาลข้ามขั้วสูง
เลือกตั้ง 66: ประชาชนเคยเลือกพรรคไหน ถึงได้นายกฯ ชื่อ พล.อ.ประยุทธ์
อ่าน

เลือกตั้ง 66: ประชาชนเคยเลือกพรรคไหน ถึงได้นายกฯ ชื่อ พล.อ.ประยุทธ์

ในการเลือกตั้ง ปี 2562 ปัจจัยที่ทำให้ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ได้รับเลือกให้เป็นนายกรัฐมนตรี มีอย่างน้อยสามประการ ได้แก่ การมี ส.ว. ที่มาจากคสช. สนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์ การมี ส.ส. สังกัดพรรคที่ให้การสนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์ โดยตรง อย่างพรรคพลังประชารัฐ และการมี ส.ส. สังกัดพรรคที่ให้การสนับสนุน พล.อ.ประยุทธ์ โดยอ้อม หรือ ลงมติเลือก พล.อ.ประยุทธ์ เป็นนายกฯ อย่างเช่น พรรคประชาธิปัตย์ พรรคภูมิใจไทย พรรคชาติไทยพัฒนา และพรรคอื่นๆ อีกกว่า 15 พรรค  
แก้รัฐธรรมนูญภาคสี่: ถอดรหัสการลงมติ #ตัดอำนาจสว ของ ส.ส. และ ส.ว.
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญภาคสี่: ถอดรหัสการลงมติ #ตัดอำนาจสว ของ ส.ส. และ ส.ว.

7 กันยายน 2565 ที่ประชุมร่วมกันของรัฐสภา มีนัดลงมติเห็นชอบร่างแก้รัฐธรรมนูญจำนวน 4 ฉบับ โดยผลของการลงมติครั้งดังกล่าว พบว่า “ร่างรัฐธรรมนูญทุกฉบับถูกปัดตก” แม้บางฉบับจะได้รับเสียงเห็นชอบเกินกึ่งหนึ่งของรัฐสภา แต่เนื่องจากไม่ผ่านเสียงเห็นชอบจาก ส.ว. ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนด 
สภาล่ม: จากความบกพร่องสู่ความตั้งใจของฝ่ายรัฐบาล
อ่าน

สภาล่ม: จากความบกพร่องสู่ความตั้งใจของฝ่ายรัฐบาล

นับตั้งแต่เปิดประชุมสภาผู้แทนราษฎรและรัฐสภาตั้งแต่ปี 2562 มีเหตุการณ์สภาล่มเกิดขึ้นรวมกัน อย่างน้อย 18 ครั้ง โดยจากสถิติการเข้าประชุมสภาสะท้อนว่า ฝ่ายรัฐบาลซึ่งไปด้วยไปด้วยพรรครัฐบาลและสมาชิกวุฒิสภาที่มาจากการแต่งตั้งไม่สามารถรักษาองค์ประชุมได้ อีกทั้ง ในช่วงหลังฝ่ายรัฐบาลพยายามใช้เหตุการณ์สภาล่มเพื่อผลประโยชน์ทางการเมืองของตนเอง