จับตาการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญใหม่แทนนครินทร์ – ปัญญา
อ่าน

จับตาการสรรหาตุลาการศาลรัฐธรรมนูญใหม่แทนนครินทร์ – ปัญญา

เดือนพฤศจิกายน 2567 มีตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 2 คนที่จะหมดวาระได้แก่ นครินทร์ เมฆไตรรัตน์และปัญญา อุดชาชน แม้ตุลาการทั้งสองคนนี้จะหมดวาระการดำรงตำแหน่งแล้วแต่จะต้องดำรงตำแหน่งต่อไปจนกว่า สว. จากระบบเลือกกันเอง จะเห็นชอบตุลาการศาลรัฐธรรมนูญใหม่สองคนมาแทนที่
หลักฐานไม่พอ! ศาลรัฐธรรมนูญไม่รับคำร้อง ทักษิณ-เพื่อไทย ล้มล้างการปกครอง
อ่าน

หลักฐานไม่พอ! ศาลรัฐธรรมนูญไม่รับคำร้อง ทักษิณ-เพื่อไทย ล้มล้างการปกครอง

22 พฤศจิกายน 2567 ศาลรัฐธรรมนูญมีคำสั่งไม่รับคำร้อง ที่ธีรยุทธ สุวรรณเกษร ยื่นคำร้องให้วินิจฉัยว่าทักษิณ ชินวัตร และพรรคเพื่อไทย ใช้สิทธิเสรีภาพล้มล้างการปกครอง โดยเหตุผลคือยังไม่มีน้ำหนักพยานหลักฐานเพียงพอ
จับตาศาลรัฐธรรมนูญ รับ/ไม่รับคำร้อง ปมทักษิณ-พรรคเพื่อไทย ใช้สิทธิเสรีภาพล้มล้างการปกครอง
อ่าน

จับตาศาลรัฐธรรมนูญ รับ/ไม่รับคำร้อง ปมทักษิณ-พรรคเพื่อไทย ใช้สิทธิเสรีภาพล้มล้างการปกครอง

วันที่ 22 พฤศจิกายน 2567 ศาลรัฐธรรมนูญมีนัดประชุมเพื่อพิจารณาว่าจะรับหรือไม่รับคำร้อง กรณีธีรยุทธ สุวรรณเกษร ยื่นคำร้องให้วินิจฉัยว่าทักษิณ ชินวัตร และพรรคเพื่อไทย ใช้สิทธิเสรีภาพเพื่อล้มล้างการปกครองหรือไม่
กกต. ต้องเร่งส่งเรื่องไปศาลรธน. ฟัน “สมชาย เล่งหลัก” พ้น สว. เหตุถูกเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง
อ่าน

กกต. ต้องเร่งส่งเรื่องไปศาลรธน. ฟัน “สมชาย เล่งหลัก” พ้น สว. เหตุถูกเพิกถอนสิทธิสมัครรับเลือกตั้ง

กกต. ควร “เร่ง” ดำเนินการส่งเรื่องไปให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยกรณี สว. สมชาย เล่งหลัก ยิ่ง กกต. ส่งเรื่องช้า ยิ่งทำให้ สว. ที่มีลักษณะต้องห้าม ยังอยู่ในตำแหน่ง สว. ต่อไปอีก
เปิดคำวินิจฉัยส่วนตน เสียงข้างมากยืนยันเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติ 2 ครั้งก็พอ
อ่าน

เปิดคำวินิจฉัยส่วนตน เสียงข้างมากยืนยันเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติ 2 ครั้งก็พอ

เมื่อดูข้อกฎหมาย ประกอบกับคำวินิจฉัยส่วนตนของตุลาการทั้งเก้าคน พบว่า ศาลรัฐธรรมนูญ “ไม่ได้บอก” ว่าต้องทำประชามติสามครั้ง แต่ยืนยันว่ากระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ต้องทำประชามติสองครั้ง คือ การทำประชามติก่อนเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ และทำประชามติหลังร่างรัฐธรรมนูญใหม่แล้วเสร็จ โดยในตุลาการเก้าคน เสียงข้างมากหกคนยืนยันชัดเจนว่าการทำประชามติตลอดกระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ สามารถทำได้เพียงสองครั้ง
ท้ายปี 2567 องค์กรอิสระที่ สนช. เคยให้ความเห็นชอบ 11 ตำแหน่งหมดวาระ ลาออก 1 ตำแหน่ง
อ่าน

ท้ายปี 2567 องค์กรอิสระที่ สนช. เคยให้ความเห็นชอบ 11 ตำแหน่งหมดวาระ ลาออก 1 ตำแหน่ง

ช่วงเดือนกันยายน – ธันวาคม 2567 ผู้ดำรงตำแหน่งในองค์กรอิสระรวม 12 ตำแหน่ง เนื่องจากหมดวาระและมีการลาออก โดยทั้ง 12 คนที่กำลังจะหมดวาระลงและได้ลาออกจากตำแหน่งนี้ล้วนเป็นตำแหน่งที่เคยได้รับความเห็นชอบจาก สนช. ที่ทำหน้าที่เป็นฝ่ายนิติบัญญัติในสมัยเผด็จการคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ข้าหลวงใหญ่ฯ – ผู้รายงานพิเศษ UN แสดงความกังวลเรื่องการยุบพรรคก้าวไกล พร้อมขอให้ทบทวนการใช้มาตรา 112
อ่าน

ข้าหลวงใหญ่ฯ – ผู้รายงานพิเศษ UN แสดงความกังวลเรื่องการยุบพรรคก้าวไกล พร้อมขอให้ทบทวนการใช้มาตรา 112

อ่านความเห็นและท่าทีของข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติและผู้รายงานพิเศษด้านเสรีภาพการแสดงออกต่อกรณีการยุบพรรคก้าวไกล
หลังเศรษฐา-ครม. พ้นตำแหน่ง สส. ต้องโหวตเลือกนายกฯ จากบัญชีพรรคการเมือง
อ่าน

หลังเศรษฐา-ครม. พ้นตำแหน่ง สส. ต้องโหวตเลือกนายกฯ จากบัญชีพรรคการเมือง

14 สิงหาคม 2567 ศาลรัฐธรรมนูญฟันเศรษฐา ทวีสิน พ้นตำแหน่งนายกฯ ครม. พ้นตำแหน่งตามทั้งคณะ ส่งผลให้ต้องมีการเลือกนายกฯ ใหม่และตั้ง ครม. ใหม่
ศาลรธน. มีมติ 5 : 4 ฟันเศรษฐาพ้นตำแหน่งนายกฯ ปมตั้ง “พิชิต ชื่นบาน” เป็น รมต.
อ่าน

ศาลรธน. มีมติ 5 : 4 ฟันเศรษฐาพ้นตำแหน่งนายกฯ ปมตั้ง “พิชิต ชื่นบาน” เป็น รมต.

14 สิงหาคม 2567 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติ 5 ต่อ 4 ให้เศรษฐา ทวีสิน พ้นตำแหน่งนายกรัฐมนตรี เนื่องจากขาดคุณสมบัติ ไม่มีความซื่อสัตย์สุจริตเป็นที่ประจักษ์ และมีพฤติกรรมอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง จากปมทูลเกล้าฯ แต่งตั้งพิชิต ชื่นบาน เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรีทั้งที่พิชิตเคยต้องคำพิพากษาจำคุกหกเดือนฐานละเมิดอำนาจศาล 
ย้อนดู ชะตากรรม 5 นายกฯ ในมือศาลรัฐธรรมนูญ ใครรอด/ไม่รอด
อ่าน

ย้อนดู ชะตากรรม 5 นายกฯ ในมือศาลรัฐธรรมนูญ ใครรอด/ไม่รอด

14 สิงหาคม 2567 การตัดสินอนาคตทางการเมืองของเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี โดยศาลรัฐธรรมนูญ ไม่ใช่ครั้งแรกที่นายกฯ ไทยต้องเผชิญหน้ากับองค์กรที่ไม่ได้มาจากการเลือกตั้ง แต่มีบทบาทสูงในการชี้ทิศทางการเมืองไทย นับตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 2550 และ 2560 มีนายกฯ ห้าคนที่ต้องเข้าสู่การพิจารณาคุณสมบัติโดยศาลรัฐธรรมนูญ