รายงาน การปิดปากผู้ชุมนุมโดยอ้างเหตุสาธารณสุข : การใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯในทางที่ผิด
อ่าน

รายงาน การปิดปากผู้ชุมนุมโดยอ้างเหตุสาธารณสุข : การใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯในทางที่ผิด

รายงานสรุปสองปีครึ่ง ที่รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ ประกาศพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เพื่อควบคุมโควิด19 แต่นำมาใช้ดำเนินคดีกับผู้ชุมนุมต่อต้านรัฐบาลอย่างกว้างขวาง จนคดีการเมืองพุ่งสูงมากที่สุดอย่างไม่เคยมีมาก่อน
สภาฯ มีมติ เปิดทางครม. ถ่วงเวลา นำร่างกฎหมายใช้แทนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ไปศึกษา 60 วัน
อ่าน

สภาฯ มีมติ เปิดทางครม. ถ่วงเวลา นำร่างกฎหมายใช้แทนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ไปศึกษา 60 วัน

9 กุมภาพันธ์ 2565 สภาผู้แทนราษฎร เห็นด้วยอนุมัติให้ครม. ถ่วงเวลา นำร่างพ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ ไปศึกษาก่อนรับหลักการ 227 เสียง ไม่เห็นด้วย 157 เสียง งดออกเสียง 10 เสียง ไม่ลงคะแนนเสียง 0 เสียง เป็นอันว่าครม. สามารถนำร่างกฎหมายดังกล่าวไปศึกษาก่อน 60 วัน 
ก้าวไกลเสนอกฎหมายใหม่ ใช้แทนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ
อ่าน

ก้าวไกลเสนอกฎหมายใหม่ ใช้แทนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

ส.ส.พรรคก้าวไกล นำโดยรังสิมันต์ โรม ยื่นเสนอร่างพ.ร.บ.การบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน (ร่างพ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ) ต่อรัฐสภา เพื่อพิจารณาประกาศใช้แทนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ที่ยังคงใช้อยู่อย่างต่อเนื่อง โดยเสนอให้ยกเลิก พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับเดิม และจะมีผลให้ยกเลิกการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินฯ รวมทั้งข้อกำหนด ประกาศต่างๆ ที่ออกตามอำนาจของ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ทั้งหมด และให้มีมาตรการใหม่สำหรับการรับมือสถานการณ์ฉุกเฉินฯ ดังนี้
สรุปคำฟ้องขอเพิกถอนข้อกำหนดฯ ฉบับที่ 29 คืนเสรีภาพสื่อให้กับประชาชน
อ่าน

สรุปคำฟ้องขอเพิกถอนข้อกำหนดฯ ฉบับที่ 29 คืนเสรีภาพสื่อให้กับประชาชน

2 สิงหาคม 2564 กลุ่มสื่อมวลชนและภาคประชาชน อย่างน้อย 12 กลุ่ม เดินทางมาศาลแพ่ง (รัชดา) เพื่อยื่นฟ้องขอเพิกถอนข้อกำหนดที่ออกตาม พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 29 ที่ให้อำนาจ กสทช. “ตัดเน็ต” ผู้โพสต์ข้อความอันอาจทำให้ประชาชนเกิดความหวาดกลัว เนื่องจากเป็นการใช้อำนาจที่ขัดต่อหลักนิติธรรม และยังเป็นการดำเนินการที่ไม่สอดคล้องกับหลักการพื้นฐานในการปกครองระบอบประชาธิปไตย 
ตรวจการบ้าน ศบค.: หนึ่งปีผ่านไป ประเทศไทยยังอยู่กับการล็อกดาวน์
อ่าน

ตรวจการบ้าน ศบค.: หนึ่งปีผ่านไป ประเทศไทยยังอยู่กับการล็อกดาวน์

ทุกการระบาดใหญ่ตั้งแต่ระลอกแรกไปจนถึงการระบาดใหญ่ในช่วงปลายเดือนมิถุนายน 2564 ที่ผ่านมา รัฐไทยยังคงหวังใช้มาตรการควบคุมทางสังคม เช่น "การล็อคดาวน์" เป็นกลไกหลัก ทั้งที่ หัวใจสำคัญ คือ มาตรการทางสาธารณสุข ไม่ว่าจะเป็นการตรวจเชิงรุก การติดตามผู้ป่วย ไปจนการฉีดวัคซีน แต่รัฐไทยก็กลับละเลย
4 เหตุผลที่ต้องยุบ ศบค.
อ่าน

4 เหตุผลที่ต้องยุบ ศบค.

การดำเนินการของ ศบค. ทำให้เกิดการระบาดของเชื้อโควิด-19 ถึงสามระลอก จนเกินศักยภาพในการรับมือของสาธารณสุข และการเยียวยาประชาชนก็ไม่ตรงจุดและไม่ทั่วถึง ทำให้มีการตั้งคำถามถึงความจำเป็นในการมี ศบค. ในการแก้ไขปัญหาจนมีข้อเสนอในมีการยุบ ศบค.
พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ คุ้มครอง ศบค. ฟ้องศาลปกครองไม่ได้ ทำผิดไม่ต้องรับผิด
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ คุ้มครอง ศบค. ฟ้องศาลปกครองไม่ได้ ทำผิดไม่ต้องรับผิด

ภายใต้สถานการณ์โควิดที่ระบาดต่อเนื่องจนควบคุมไม่ได้ รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ บังคับใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ อย่างต่อเนื่อง จนขณะนี้ก็ยังไม่ยกเลิกการบังคับใช้และหาเครื่องมืออื่นมาใช้แก้ปัญหาโรคระบาดแทน หนึ่งใน “เครื่องมือ” ที่พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ มอบให้รัฐบาลและเจ้าหน้าที่รัฐซึ่งไม่มีความจำเป็นในสถานการณ์โรคระบาดเลย คือ “การยกเว้นความรับผิดให้เจ้าหน้าที่”
‘ศบค.’ คืออะไร? เปิดโครงสร้าง และรายชื่อบุคคลเบื้องหลัง
อ่าน

‘ศบค.’ คืออะไร? เปิดโครงสร้าง และรายชื่อบุคคลเบื้องหลัง

เปิดที่มาโครงสร้าง และรายชื่อบุคคลเบื้องหลังศูนย์บริหารสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) อันมีพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา เป็นผู้อำนวยการศูนย์
เปิดคำสั่ง ศบค. คณะทูตซูดาน/ทหารอียิปต์ เข้าไทยต้องกักตัว 14 วันทุกคน
อ่าน

เปิดคำสั่ง ศบค. คณะทูตซูดาน/ทหารอียิปต์ เข้าไทยต้องกักตัว 14 วันทุกคน

คณะทูตซูดานและทหารอียิปต์เข้าประเทศตามเงื่อนไขคำสั่ง ศบค.ที่ 7/2563 แต่ประชาชนต้องตกอยู่ในความเสี่ยงต่อการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 อีกครั้งเพราะเจ้าหน้าที่ของรัฐหละหลวมในการบังคับใช้มาตรการ
18 วันไม่พบผู้ติดเชื้อในประเทศ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หมดหน้าที่
อ่าน

18 วันไม่พบผู้ติดเชื้อในประเทศ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หมดหน้าที่

ข้อมูลผู้ติดเชื้อตั้งแต่ 27 พฤษภาคม 2563 รวมทั้งสิ้นจำนวน 84 คน เป็นผู้ที่เดินทางกลับจากต่างประเทศทั้งสิ้น ดังนั้น มาตรการต่างๆ ที่จำกัดการใช้ชีวิตของประชาชนภายในประเทศ เช่น เคอร์ฟิว การปิดโรงเรียนและสถานศึกษา การจำกัดจำนวนคนเข้าใช้บริการในร้านอาหาร จึงไม่มีความจำเป็นเพื่อการควบคุมโรคอีกต่อไป