สภาผู้แทนราษฎรมีมติเลือก แพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31
อ่าน

สภาผู้แทนราษฎรมีมติเลือก แพทองธาร ชินวัตร เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31

16 สิงหาคม 2567 สภาผู้แทนราษฎร (สส.) มีมติเห็นชอบ “อุ๊งอิ๊ง” แพทองธาร ชินวัตร หัวหน้าพรรคเพื่อไทย เป็นนายกรัฐมนตรีคนที่ 31 ของประเทศไทย แพทองธารถือเป็นแคนดิเดตนายกรัฐมนตรีคนเดียวที่ถูกเสนอชื่อในการประชุมครั้งนี้ ไม่มีพรรคใดเสนอแคนดิเดตแข่งด้วย
ขั้นตอนเลือกนายกฯ คนใหม่ หลังศาลรัฐธรรมนูญฟันเศรษฐาพ้นตำแหน่ง
อ่าน

ขั้นตอนเลือกนายกฯ คนใหม่ หลังศาลรัฐธรรมนูญฟันเศรษฐาพ้นตำแหน่ง

แม้การเลือกนายกรัฐมนตรีหลังจากการเลือกตั้งทั่วไปเมื่อปี 2562 และ 2566 จะมีสมาชิกวุฒิสภา (สว.) ชุดพิเศษมาร่วมโหวตเลือกนายกรัฐมนตรีด้วย แต่หลังจากพ้นระยะเวลาห้าปีที่มีรัฐสภาชุดแรก ตามรัฐธรรมนูญ 2560 มาตรา 272 แล้ว กลไกการเลือกนายกรัฐมนตรีจะกลับมาใช้ขั้นตอนปกติตามรัฐธรรมนูญ 2560 คือ เลือกนายกรัฐมนตรีโดยสภาผู้แทนราษฎร (สส.) เท่านั้น 
จับตาศาลรัฐธรรมนูญตัดสินคดีเศรษฐา ปมตั้ง “พิชิต ชื่นบาน” เป็นรัฐมนตรี
อ่าน

จับตาศาลรัฐธรรมนูญตัดสินคดีเศรษฐา ปมตั้ง “พิชิต ชื่นบาน” เป็นรัฐมนตรี

14 สิงหาคม 2567 ศาลรัฐธรรมนูญนัดฟังคำวินิจฉัยคดีเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ปม 40 สว. ชุดพิเศษ ชงเรื่องไปยังศาลรัฐธรรมนูญว่าการที่เศรษฐาเคยตั้งพิชิต ชื่นบาน เป็นรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ทั้งที่พิชิตเคยต้องคำพิพากษาคดีละเมิดอำนาจศาล เป็นพฤติกรรมอันเป็นการฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรงตามรัฐธรรมนูญ 2560
เศรษฐา ทวีสิน: ประธานยุทธศาสตร์ชาติคนใหม่
อ่าน

เศรษฐา ทวีสิน: ประธานยุทธศาสตร์ชาติคนใหม่

การได้ เศรษฐา ทวีสิน เป็นนายกรัฐมนตรีคนใหม่ หลังการเลือกตั้งปี 2566 ส่งผลให้กลไกสืบทอดอำนาจในรัฐธรรมนูญ 2560 อย่าง “คณะกรรมการยุทธ์ศาสตร์ชาติ” เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะตำแหน่งสำคัญอย่าง “ประธานกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ” ที่เดิมคือ พลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา โดยตลอด
เศรษฐาคว้าเก้าอี้นายกฯ คนที่ 30 ด้วยมติรัฐสภา 482 เสียง
อ่าน

เศรษฐาคว้าเก้าอี้นายกฯ คนที่ 30 ด้วยมติรัฐสภา 482 เสียง

22 สิงหาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเลือก เศรษฐา ทวีสิน แคนดิเดตนายกฯ จากพรรคเพื่อไทย ดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี ด้วยคะแนนเสียง เห็นชอบ 482 เสียง ไม่เห็นชอบ 165  เสียง งดออกเสียง 81 เสียง ขาดประชุม 19 คน
ปิดสวิตช์ สว. รวมสองครั้งที่ไม่ได้โหวต
อ่าน

ปิดสวิตช์ สว. รวมสองครั้งที่ไม่ได้โหวต

นับตั้งแต่สภาที่มาจากการเลือกตั้งเข้าทำงานในปี 2562 มีร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญ มาตรา 272 เพื่อยกเลิกอำนาจสมาชิกวุฒิสภา (สว.) ที่มาจากการแต่งตั้งในการเลือกนายกรัฐมนตรีร่วมกับสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (สส.) แต่ไม่ได้ความเห็นชอบถึงหกครั้ง แต่รู้หรือไม่ว่า มีร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญมาตรา 272 อีกสองครั้งที่ “ไม่ได้โหวต” เสียด้วยซ้ำในสภา
ประธานชิงปิดประชุม 272 หลังเสนอให้ทบทวนเสนอชื่อนายกซ้ำ
อ่าน

ประธานชิงปิดประชุม 272 หลังเสนอให้ทบทวนเสนอชื่อนายกซ้ำ

วันที่ 4 สิงหาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภามีการนัดประชุมร่วมรัฐสภา เพื่อพิจารณาร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญมาตรา 272 อย่างไรก็ตาม มีการเสนอญัตติด่วนให้สภาทบทวนมติเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีซ้ำ แต่หลังจากการอภิปรายของสมาชิก ประธานก็สั่งให้มีการปิดประชุมก่อนการลงมติ
รัฐสภามีมติ เสนอชื่อแคนดิเดตนายกฯ ที่โหวตไม่ผ่านซ้ำอีกรอบไม่ได้
อ่าน

รัฐสภามีมติ เสนอชื่อแคนดิเดตนายกฯ ที่โหวตไม่ผ่านซ้ำอีกรอบไม่ได้

19 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภา 395 เสียง มีมติว่า การเสนอชื่อนายกรัฐมนตรีคนเดิมที่เคยลงมติไปแล้วเป็นการเสนอญัตติซ้ำ ต้องห้ามตามข้อบังคับข้อ 41 ส่งผลให้ในสมัยประชุมนี้เสนอชื่อพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ ให้เป็นนายกฯ ไม่ได้อีก
เลือกนายกฯ ไม่เหมือน ‘ญัตติ’ ทั่วไปตามข้อบังคับฯ โหวตซ้ำกี่รอบก็ได้
อ่าน

เลือกนายกฯ ไม่เหมือน ‘ญัตติ’ ทั่วไปตามข้อบังคับฯ โหวตซ้ำกี่รอบก็ได้

การเลือกพิธาเป็นนายกฯ ครั้งที่สองในวันที่ 19 กรกฎาคม 2566 ของแปดพรรคเสียงข้างมาก กลับต้องเจอโจทย์ใหม่ เมื่อวุฒิสภาและฝ่ายพรรคเสียงข้างน้อยส่วนหนึ่งเห็นว่า การเสนอชื่อพิธาเป็นนายกฯ เป็นการเสนอญัตติซ้ำ ซึ่งขัดกับข้อบังคับการประชุมรัฐสภา
รวมวาทะ ส.ส.-ส.ว. อภิปรายก่อนเลือกพิธาเป็นนายก
อ่าน

รวมวาทะ ส.ส.-ส.ว. อภิปรายก่อนเลือกพิธาเป็นนายก

13 กรกฎาคม 2566 ที่ประชุมรัฐสภานัดประชุมพิจารณาผู้ที่จะดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีคนต่อไป โดยมีผู้อภิปรายจากทั้ง ส.ส. และ ส.ว.