รวมเหตุผล (?) เพื่อไทย ทำไมต้องส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
อ่าน

รวมเหตุผล (?) เพื่อไทย ทำไมต้องส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบที่ 3 ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่

จากเสียงแตกพ่ายหลากหลายความคิดของสมาชิกรัฐสภา ชวนดูเสียงจากสส.พรรคเพื่อไทย พรรคแกนนำพรรคร่วมรัฐบาล ว่าทำไมต้องส่งเรื่องนี้ให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ครั้งที่สาม
อีกแล้ว! รัฐสภาส่งศาล รธน.วินิจฉัยเขียนรัฐธรรมนูญใหม่รอบที่สาม ถามเรื่องเดิมศาลอาจไม่รับคำร้องเหมือนเดิม
อ่าน

อีกแล้ว! รัฐสภาส่งศาล รธน.วินิจฉัยเขียนรัฐธรรมนูญใหม่รอบที่สาม ถามเรื่องเดิมศาลอาจไม่รับคำร้องเหมือนเดิม

17 มีนาคม 2568 รัฐสภาส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยอำนาจเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ของรัฐสภาเป็นครั้งที่สาม ว่ารัฐสภามีอำนาจเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ โดยที่ยังไม่ได้มีการทำประชามติได้หรือหม่ ซึ่งศาลรัฐธรรมนูญอาจไม่รับคำร้องเหมือนที่เคยไม่รับในปี 2567
ไม่ผ่านทั้งคู่! สว.67 ลงมติลับไม่เห็นชอบ สิริพรรณ – ชาตรี นั่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 
อ่าน

ไม่ผ่านทั้งคู่! สว.67 ลงมติลับไม่เห็นชอบ สิริพรรณ – ชาตรี นั่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ 

18 มีนาคม 2568 สว. ลงมติลับไม่เห็นชอบให้ สิริพรรณ นกสวน สวัสดี และชาตรี อรรจนานันท์ดำรงตำแหน่งตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ หลัง สว. ไม่เห็นชอบ จะต้องสรรหาใหม่ และส่งให้วุฒิสภาพิจารณาใหม่ โดยสิริพรรณและชาตรีไม่สามารถเข้ารับการสรรหาได้อีกแล้ว
รัฐสภาส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบสาม ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ต้องทำประชามติก่อนหรือไม่
อ่าน

รัฐสภาส่งศาลรัฐธรรมนูญรอบสาม ปมปลดล็อกเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ต้องทำประชามติก่อนหรือไม่

17 มีนาคม 2568 ที่ประชุมรัฐสภามีมติส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาในการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่และการประชามติ “ก่อน” เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ต้องทำในขั้นตอนใด
สามฉากทัศน์หลังรัฐสภาเห็นชอบส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” ซ้ำรอบสาม
อ่าน

สามฉากทัศน์หลังรัฐสภาเห็นชอบส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย “เขียนรัฐธรรมนูญใหม่” ซ้ำรอบสาม

ที่ประชุมร่วมของรัฐสภามีมติส่งให้ศาลรัฐธรรมนูญตีความรายละเอียดจำนวนครั้งและขั้นตอนการทำประชามติเพื่อเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ ซึ่งที่ผ่านมามีการยื่นคำร้องในทำนองนี้แล้วสามครั้งสะท้อนให้เห็นถึงการใช้กระบวนการทางกฎหมายเป็นเครื่องมือทางการเมืองในการ “ถ่วงเวลา” กระบวนการเขียนรัฐธรรมนูญใหม่
พริษฐ์มองรัฐบาลขาดเจตจำนงจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ ขอแพทองธารแสดงภาวะผู้นำ
อ่าน

พริษฐ์มองรัฐบาลขาดเจตจำนงจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ ขอแพทองธารแสดงภาวะผู้นำ

พริษฐ์ระบุว่า การส่งเรื่องไปศาลรัฐธรรมนูญนั้นไม่จำเป็น เพราะร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญสอดคล้องกับคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่ 4/2564 อยู่แล้ว และไม่เพียงพอที่จะแก้ปัญหาเพราะอุปสรรคที่แท้จริงคือเจตจำนงทางการเมือง ทางออกจึงไม่ได้อยู่ที่ศาลรัฐธรรมนูญ แต่อยู่ที่ทำเนียบรัฐบาล โดยนายกรัฐมนตรีต้องแสดงภาวะผู้นำ
ถอดบทเรียนแกะรอยโกง การเลือก สว. 67
อ่าน

ถอดบทเรียนแกะรอยโกง การเลือก สว. 67

เสวนาออนไลน์ในหัวข้อ “แกะรอยโกง การเลือก สว.67” เพื่อชี้ให้เห็นปัญหาของระบบการเลือก สว. แบบใหม่ รวมถึงมองหาความเป็นไปได้ที่จะมีการปฏิรูปกระบวนการได้มาซึ่ง สว.
รัฐสภานัดถก “ส่งศาลรธน.” รอบที่ 3 หรือไม่ ลุ้นเพื่อไทยดีลเสียงเพิ่มจากไหนได้บ้าง
อ่าน

รัฐสภานัดถก “ส่งศาลรธน.” รอบที่ 3 หรือไม่ ลุ้นเพื่อไทยดีลเสียงเพิ่มจากไหนได้บ้าง

17 มีนาคม 2568 รัฐสภามีวาระพิจารณาการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่ฉบับต่อ แต่ในครั้งนี้จะเป็นการพิจารณาส่งศาลรัฐธรรมนูญ วินิจฉัยก่อนว่า กระบวนการนี้จะเดินหน้าไปโดยยังไม่ได้ทำประชามติก่อนได้หรือไม่
อภิปรายไม่ไว้วางใจแพทองธาร เสียงฝ่ายค้านยังห่าง น้ำเงิน “เท” ก็ยังไม่ถึง
อ่าน

อภิปรายไม่ไว้วางใจแพทองธาร เสียงฝ่ายค้านยังห่าง น้ำเงิน “เท” ก็ยังไม่ถึง

จะถอดถอนนายกฯ แพทองธานต้องใช้สส. 247 เสียงขึ้นไป ฝ่ายค้านปัจจุบันมีเพียง 166 เสียง ขาดอีก 81 เสียง ต่อให้พรรคภูมิใจไทย “เท” มาทั้งพรรคก็ยังไม่พอเปลี่ยนนายกฯ รอบนี้
ประชุมสภา ไม่มีกฎหมายห้ามอภิปรายพาดพิงบุคคลภายนอก แค่ต้องรับผิดชอบเอง
อ่าน

ประชุมสภา ไม่มีกฎหมายห้ามอภิปรายพาดพิงบุคคลภายนอก แค่ต้องรับผิดชอบเอง

กฎหมายไม่ได้ห้ามการอภิปรายในรัฐสภา ไม่ให้พาดพิงถึงบุคคลภายนอกสภา เป็นเพียงมารยาทที่หากพาดพิงไปแล้วบุคคลดังกล่าวจะไม่มีโอกาสได้ชี้แจง แต่หากพาดพิงแล้วเกิดความเสียหายใดๆ กฎหมายก็เขียนชัดว่า ผู้อภิปรายต้องรับผิดชอบ อาจถูกฟ้องร้องได้