Executive Decree
อ่าน

พ.ร.ก.ถูกตีตก รัฐบาลในอดีตเคยรับผิดชอบมาแล้ว

ธรรมเนียมในอดีตของรัฐบาลที่ใช้อำนาจฝ่ายบริหารออก พ.ร.ก. โดยไม่ผ่านสภา และเวลาต่อมาถูกคว่ำนั้น จะต้องรับผิดชอบทางการเมืองด้วยการยุบสภาหรือลาออก
Court ruled decree unconstitutional
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญตีตก พ.ร.ก.ยื้อกฎหมายป้องกันทรมานและอุ้มหาย ตำรวจต้องบันทึกภาพวิดีโอตอนจับและคุมตัว

18 พฤษภาคม 2566 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติแปดต่อหนึ่ง ให้พระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการซ้อมทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 พ.ศ. 2566 ขัดรัฐธรรมนูญ โดยการอ้างเหตุความไม่พร้อมด้านงบประมาณและบุคลากร ไม่เข้าเงื่อนไขในการออก พ.ร.ก.
1-1@2x-100 (6)
อ่าน

เลือกตั้ง 66: เปิดกฎหมายหาทางออก กรณี กกต. แบ่งเขตเลือกตั้งไม่ทันยุบสภา

หลังศาลรัฐธรรมนูญมีคำวินิจฉัยว่า การคำนวนจำนวน ส.ส. จะต้องคำนวณโดยเอาเฉพาะจำนวนราษฎรที่มีสัญชาติไทยมาคำนวณเท่านั้น ส่งผลให้ กกต. ต้องคำนวณจำนวน ส.ส.ใหม่ และผลที่ตามมาคือ ต้องมีการแบ่งเขตเลือกตั้งใหม่ ซึ่งถ้ามีการยุบสภาในระหว่างที่การแบ่งเขตเลือกตั้งยังไม่แล้วเสร็จ ก็จะส่งผลให้ให้บางเขตไม่สามารถส่งผู้สมัครรับเลือกตั้งได้ และเกิดภาวระสูญญากาศทางการเมือง
Udom Rattaammarit's Bio
อ่าน

เปิดประวัติตุลาการศาลรัฐธรรมนูญคนใหม่ เคยร่างรัฐธรรมนูญ 60 นั่งกรรมการหลายตำแหน่ง

เปิดประวัติตุลาการศาลรัฐธรรมนูญคนใหม่ อุดม รัฐอมฤต อดีตคณบดีคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ นอกจากบทบาทในฐานะนักวิชาการแล้ว อุดมยังมีบทบาทต่อการเมืองไทย ในฐานะผู้ร่างรัฐธรรมนูญ 2560
51091127365_9aaace2043_o
อ่าน

ความขัดแย้งทางการเมืองจากผลคำตัดสินของ “ศาลรัฐธรรมนูญ”

ศาลรัฐธรรมนูญถูกก่อตั้งขึ้นครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญ ปี 2540 ด้วยความคาดหวังว่า ศาลจะเป็นองค์กรพิทักษ์รัฐธรรมนูญ ทำหน้าที่วินิจฉัยข้อพิพาททางกฎหมายหรือตรวจสอบอำนาจรัฐให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญ แต่หลังวิกฤติการเมืองที่เริ่มต้นในปี 2549 เป็นต้นมา ศาลรัฐธรรมนูญค่อยๆ ขยายบทบาทและเข้ามาเป็นผู้เล่นทางการเมืองเพื่อตอบสนองต่อกลุ่มที่เป็นปรปักษ์กับพรรคการเมืองที่ได้รับเสียงข้างมากจากประชาชน
Parliament submits ruling to the Constitutional Court
อ่าน

รัฐสภามีมติเสียงข้างมากยื่นศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัย มีอำนาจแก้ไขรัฐธรรมนูญเพื่อตั้ง สสร. หรือไม่?

9 กุมภาพันธ์ 2564 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเห็นด้วย 366 ต่อ 315 เสียง ให้ส่งศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยประเด็นปัญหาอำนาจและหน้าที่ของรัฐสภา ว่ามีอำนาจในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญ เพื่อกำหนดบทบัญญัติว่าด้วยการจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
50663785298_60401175fd_o
อ่าน

คดีพักบ้านหลวง: พล.อ.ประยุทธ์อาจพ่าย แต่ระบอบ คสช. ยังไม่แพ้

2 ธันวาคม 2563 คือ วันชี้ชะตาของ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและอดีตหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) ว่าจะต้องพ้นจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหรือไม่ โดยผลของคำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญอาจทำให้ พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา และบรรดาคณะรัฐมนตรีในรัฐบาล คสช. ต้องพ้นไปจากตำแหน่งยกชุด และ พล.อ.ประยุทธ์ อาจต้องเว้นวรรคทางการเมืองเป็นเวลา 2 ปี
Monarchy Protection
อ่าน

ฝ่ายอนุรักษ์นิยมหวังยืมมือศาลรัฐธรรมนูญ “ล้มกระดาน” ม็อบคณะราษฎร

การชุมนุม "ขยับเพดาน" ของกลุ่มนักศึกษา ทำให้ฝ่ายอนุรักษ์นิยม นำโดย "ณฐพร โตประยูร" อดีตนักร้อง(เรียน)ที่เคยยื่นเรื่องยุบพรรคอนาคตใหม่มาก่อน ได้ยื่นเรื่องต่อศาลรัฐธรรมนูญอีกครั้ง โดยความฝันอันสูงสุด ไม่ใช่แค่การสกัดการชุมนุมของประชาชน แต่เป็นความพยายามในการ "ล้มกระดาน" การจัดชุมนุมของกลุ่มนักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ที่เรียกตัวเองว่า "คณะราษฎร"