DSC_0120
อ่าน

เก็บตกงานเสวนา เสาหลักต้องเป็นหลักอันศักดิ์สิทธิ์ – ศาลคือหน่วยงานสาธารณะที่ต้องถูกวิจารณ์และตรวจสอบโดยสาธารณะ

วันที่ 7 ตุลาคม 25…
49537173441_46b74b91d4_b
อ่าน

วิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญโดย “สุจริต” ทำได้ แค่ไม่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้าย

การละเมิดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ รวมถึงห้ามวิจารณ์คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่กระทำด้วยความไม่สุจริตและใช้ถ้อยคำหรือความหมายที่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้ายอีกด้วย ซึ่งมีบทลงโทษสูงสุดคือ จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
อ่าน

Thailand Post Election Report: สถานการณ์เสรีภาพหลังเลือกตั้งยังไม่พ้นเงาคสช.

การเลือกตั้งที่เกิดขึ้นในปี 2562 เป็นการเลือกตั้งที่คนไทยหลายคนรอคอย เพราะนับจากปี 2554 ประเทศไทยก็ยังไม่มีการเลือกตั้งอีกเลย แม้ปี 2557 จะมีการจัดการเลือกตั้งในเดือนกุมภาพันธ์ หลังรัฐบาลยิ่งลักษณ์ชินวัตรยุบสภาแต่การเลือกตั้งครั้งนั้นก็ถูกประกาศให้เป็นโมฆะเพราะกลุ่มกปปส.ไปปิดล้อมหน่วยเลือกตั้งบางแห่ง ทำให้ไม่สามารถจัดการเลือกตั้งทุกหน่วยพร้อมกันทั่วประเทศได้ตามกฎหมาย และเมื่อคสช.ยึดอำนาจในเดือนพฤษภาคม ปี 2557 บทสนทนาเรื่องการเลือกตั้งก็เลือนหายไปจากสังคมไทย    ภายใต้การบริหารประเทศโดยคสช.
อ่าน

Thailand Post Election: เมื่อตุลาการเริ่มตอบโต้การวิพากษ์วิจารณ์ด้วยกฎหมาย

สถาบันตุลาการหรือศาลได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของความขัดแย้งทางการเมือง เมื่อต้องทำหน้าที่ตีความกฎหมาย พิจารณาตัดสินคดี ปัญหาเกิดขึ้นเพราะหลังการรัฐประหาร ผู้มีอำนาจซึ่งไม่มีความชอบธรรมในทางการเมืองมักออกกฎหมายกดปราบผู้ต่อต้าน จึงเป็นการผลักให้ศาลต้องเผชิญหน้ากับประชาชนโดยตรง และเสียงวิพากษ์วิจารณ์ก็ย่อมดังขึ้นกว่าเดิม   วิธีการที่ศาลหรือหน่วยงานภาครัฐเลือกใช้ในการจัดการกับหรือตอบโต้คำวิพากษ์วิจารณ์ของประชาชนกลับเป็นมาตรการทางกฎหมาย ทำให้หลังการรัฐประหารคดีความเกี่ยวกับการ “ดูหมิ่นศาล” หรือ “ละเมิดอำนาจศาล” เพิ่มขึ้น ยิ่งหลังการเลือกตั้ง ศาลฎีกาและศาลรั
concourt
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญออกข้อกำหนด “ห้ามวิจารณ์ศาล” มีผลบังคับใช้ 17 ตุลาคม 2562

17 กันยายน 2562 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ข้อกำหนดศาลรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2562 โดยมีจุดน่าสนใจอยู่ที่ข้อที่ 10 ในข้อกำหนดดังกล่าว ที่นำบัญญัติเรื่องการ "ห้ามวิจารณ์ศาลโดยไม่สุจริต" มาบรรจุไว้ และข้อกำหนดฉบับนี้จะมีผลบังคับใช้ 30 วัน หลังประกาศในราชกิจจานุเบกษาหรือในวันที่ 17 ตุลาคม 2562 
Jarun and Udom
อ่าน

ห้ามวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญ โทษจำคุก มาได้ยังไง? : ศาลรัฐธรรมนูญไม่ได้ขอ – กรธ. ไม่ได้ให้เอง

ข้อค้นพบจากงานเสวนาชี้ให้เห็นความสับสนในที่มา เมื่อตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ บอกว่า ไม่ต้องการโทษจำคุกสำหรับความผิดฐานละเมิดอำนาจศาล แต่กรรมการร่างรัฐธรรมนูญกลับบอกว่า ไม่ได้เป็นคนใส่เพิ่มขึ้นมา ขณะกฎหมายที่ประกาศใช้กำหนดให้การวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญโดยไม่สุจริตมีโทษจำคุก 1 เดือน
อ่าน

เห็นพ้อง ความผิดละเมิดอำนาจศาล ควรลดโทษจำคุก-เพิ่มโทษปรับ สร้างความชัดเจนมาตรฐานเดียว

งานเสวนาเรื่องกฎหมายละเมิดอำนาจศาล ผศ.เอื้ออารีย์ ชี้สถานการณ์ปัจจุบันขาดความชัดเจน ลงโทษซ้ำจากการกระทำเดียว พิจารณาคดีโดยไม่อิสระ ขัดต่อหลักสากล จรัญ เห็นพ้องด้วยควรแก้กฎหมาย ย้ายออกจากป.วิ.แพ่ง ไม่เน้นโทษจำคุก สร้างมาตรฐานกลางสำหรับทุกศาลให้ประชาชนเข้าใจได้
อ่าน

กันยายน 2560: ยกฟ้องคดีก่อความวุ่นวายประชามติ – ไต่สวนนักกิจกรรมละเมิดอำนาจศาลขอนแก่น เตรียมพิพากษาพฤศจิกายนนี้

เดือนกันยายนมีความเคลื่อนไหวคดีเสรีภาพเกิดขึ้นหลายคดี ในจำนวนนั้นมีคำพิพากษาที่น่าสนใจออกมาหนึ่งคดีได้แก่คดีปิยรัฐ ฉีกบัตรประชามติซึ่งศาลจังหวัดพระโขนงชี้ว่าการถ่ายวิดีโอเหตุการณ์การฉีกบัตรและโพสต์คลิปลงบนเฟซบุ๊กไม่ถือเป็นการก่อความวุ่นวายในหน่วยออกเสียง ขณะเดียวกันก็มีความเคลื่อนไหวคดี 112 ที่สำคัญได้แก่คดีของทนายประเวศซึ่งแถลงขอถอนทนายและไม่ร่วมกระบวนการพิจารณาคดีเพราะเห็นว่าเป็นกระบวนการที่ไม่ชอบธรรม นอกจากนี้ก็มีกรณีที่ศาลทหารทั้งที่กรุงเทพและขอนแก่นเลื่อนการพิจารณาคดีเสรีภาพห้าคดีเพราะพยานโจทก์ไม่มาศาล
อ่าน

มีนาคม 2560: ออกหมายเรียกนักกิจกรรมละเมิดอำนาจศาลจังหวัดขอนแก่น – วอยซ์ ทีวีจอดำเจ็ดวัน – แจ้งข้อกล่าวหา 116 กับพระวัดพระธรรมกาย

สถานการณ์เสรีภาพเดือนมีนาคมยังคงร้อนไม่แพ้อุณหภูมิของฤดูร้อน  มีการออกหมายเรียกนักกิจกรรมกลุ่มหนึ่งที่แสดงสัญลักษณ์ไม่เห็นด้วยกับการคุมขังจตุภัทร์หรือ ‘ไผ่ ดาวดิน’ ไปไต่สวนในความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลที่จังหวัดขอนแก่น  มีกรณีวอยซ์ ทีวี ถูกลงโทษหนัก ห้ามออกอากาศเป็นเวลาเจ็ดวัน  หลังถูกกล่าวหาว่าเผยแพร่รายการที่มีเนื้อหาไม่เหมาะสมยุยงให้มีความแตกแยกและขัดต่อพ.ร.บ.
Sawatree Suksri
อ่าน

เสวนา “คำพิพากศาล” นักวิชาการชี้ รัฐใช้ ม.112 เป็นกลไกสร้างความกลัว – การบังคับใช้กฎหมายขึ้นอยู่กับว่า คุณเป็นใคร?

สาวตรี สุขศรี คณะนิติศาสตร์ มธ. กล่าวในงานเสวนา "คำพิพากศาล" ว่า กฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นกลไกรัฐในการสร้างความกลัว และเป็นกระบวนการยุติธรรมเชิงบีบบังคับให้จนมุม ด้าน สมชาย ปรีชาศิลปกุล คณะนิติศาสตร์ มช. มองว่าปัจจุบันสังคมไทยอยู่ในภาวะ 1 ระบบ 3 มาตรฐาน การบังคับใช้กฎหมายต่างๆ ขึ้นอยู่กับว่า บังคับใช้กับใคร กลุ่มประชาชนทั่วไป ผู้ต่อต้าน หรือสนับสนุนรัฐ