ผู้ลี้ภัยไทยกับการนิรโทษกรรมประชาชน
อ่าน

ผู้ลี้ภัยไทยกับการนิรโทษกรรมประชาชน

เสียงจากผู้ลี้ภัยไทยที่เล่าว่า ปี 2567 มีผู้ลี้ภัยอยู่ที่แวนคูเวอร์ ประเทศแคนาดาหกคน มาถึงปีนี้มีผู้ลี้ภัยมาเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่าตัว เป็น 12 คน ซึ่งแปลว่าความไว้วางใจของประชาชนที่อยู่ในประเทศนั้นน้อยมากๆ
ภูมิธรรมแจงจีนมีจดหมายทางการทูต ส่งอุยกูร์ไปประเทศที่สามคือเรื่องเพ้อฝัน
อ่าน

ภูมิธรรมแจงจีนมีจดหมายทางการทูต ส่งอุยกูร์ไปประเทศที่สามคือเรื่องเพ้อฝัน

รองนายกรัฐมนตรีแจงผู้ลี้ภัยอุยกูร์เป็นปัญหาตกค้างยาวนาน ไม่มีประเทศที่สามมีจดหมายรับอย่างเป็นทางการ ส่วนการเลือกส่งกลับจีนวางอยู่บทห้าหลักการเช่น พื้นฐานอำนาจอธิปไตยไทย
ฉาย “ละครคุณธรรม” บังคับส่งกลับผู้ลี้ภัยอุยกูร์ ทำลายภาพลักษณ์ไทยในเวทีโลก
อ่าน

ฉาย “ละครคุณธรรม” บังคับส่งกลับผู้ลี้ภัยอุยกูร์ ทำลายภาพลักษณ์ไทยในเวทีโลก

กัณวีร์ระบุว่า การดำเนินการนโยบายต่างประเทศและการบังคับส่งกลับอุยกูร์เป็นการทุจริตเชิงนโยบายการต่างประเทศ พร้อมทั้งเรียกร้องหลักฐานการสมัครใจกลับของผู้ลี้ภัย
ในวันที่ความศรัทธาทรยศ ขอ “โต้กลับ” กระบวนการยุติธรรมไทยด้วยการลี้ภัย
อ่าน

ในวันที่ความศรัทธาทรยศ ขอ “โต้กลับ” กระบวนการยุติธรรมไทยด้วยการลี้ภัย

ความสิ้นหวังในสิ่งที่ศรัทธาอย่างกระบวนการยุติธรรมและด้วยยึดมั่นว่า การกระทำของเธอไม่ผิดตามมาตรา 112 ทำให้นิวส์ จตุพรเลือกที่จะลี้ภัยทางการเมืองเพื่อชีวิตใหม่
เสียงสะท้อนชีวิตของคนถูก “ซ่อน” และการต่อสู้เพื่อไม่ “หาย”
อ่าน

เสียงสะท้อนชีวิตของคนถูก “ซ่อน” และการต่อสู้เพื่อไม่ “หาย”

การซ่อนหายคนที่อยู่ในพื้นที่ทางการเมืองด้วยคดีทางการเมือง หรือการถูกฆ่าและพบเป็นศพในแม่น้ำโขง คนที่เสียชีวิตอาจไม่ได้อยู่เพื่อต่อสู้ต่อไป แต่คนที่พ้นโทษออกมาแล้ว หรือลูกชายของคนที่เสียชีวิตจะแบกรับความฝันต่อไป
#saveวันเฉลิม: บทเรียนละตินอเมริกา 5 ปัจจัยการเมือง ‘เช็คบิลย้อนหลัง’การละเมิดสิทธิยุคเผด็จการทหาร
อ่าน

#saveวันเฉลิม: บทเรียนละตินอเมริกา 5 ปัจจัยการเมือง ‘เช็คบิลย้อนหลัง’การละเมิดสิทธิยุคเผด็จการทหาร

วันเฉลิม สัตย์ศักดิ์สิทธิ์ ไม่ใช่ผู้ลี้ภัยสัญชาติไทยรายแรกที่ถูกอุ้มหายในประเทศเพื่อนบ้าน ตั้งแต่ปี 2559 มีผู้ลี้ภัยถูกอุ้มหายไปแล้ว 9 ราย แต่ก่อนที่จะสิ้นหวังในการตามหาความยุติธรรม เราอยากชวนผู้อ่านมองออกไปยังบริบทโลกเพื่อค้นหาบทเรียนและปัจจัยของความสำเร็จที่เคยเกิดขึ้นแล้ว     
ตามหาวันเฉลิม: ถอดบทเรียนการต่อสู้เพื่อกลไกป้องกันการบังคับสูญหาย
อ่าน

ตามหาวันเฉลิม: ถอดบทเรียนการต่อสู้เพื่อกลไกป้องกันการบังคับสูญหาย

ภาคประชาสังคมที่ทำงานขับเคลื่อนประเด็นป้องกันการทรมานและอุ้มหายจัดวงเสวนาเรื่อง “ตามหาวันเฉลิม: ตามหาหลักประกันความปลอดภัยของประชาชนจากการถูกบังคับสูญหาย (และทรมาน)” สะท้อนความรู้สึกของผู้ใกล้ชิด บทเรียนความพยายามในการสร้างกลไกในการป้องกันการทรมานและการบังคับสูญหาย
ยกย่องบทบาทคนรุ่นใหม่ที่ลุกขึ้นสู้ ภายใต้การกดขี่เสรีภาพทั้งภูมิภาค
อ่าน

ยกย่องบทบาทคนรุ่นใหม่ที่ลุกขึ้นสู้ ภายใต้การกดขี่เสรีภาพทั้งภูมิภาค

แอมเนสตี้ อินเตอร์เนชั่นแนลแถลงเปิดตัวรายงานสถานการณ์สิทธิมนุษยชนประจำปีในภูมิภาคเอเชียและแปซิฟิก โดยระบุว่า กระแสการประท้วงทั่วเอเชียที่มีเยาวชนเป็นแกนนำ ถือเป็นความพยายามในการต่อต้านการปราบปรามที่เพิ่มขึ้นและการจำกัดเสรีภาพในการแสดงออกและการชุมนุมอย่างสงบทั่วภูมิภาค