อ่าน

Thailand Post Election Report: พ.ร.บ.ชุมนุม เครื่องมือปิดกั้นการชุมนุมหลังยกเลิกคำสั่งหัวหน้าคสช.

พ.ร.บ.การชุมนุมสาธารณะ 2558 (พ.ร.บ.ชุมนุม) เป็นกฎหมายที่ถูกผ่านโดยสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ในปี 2558 ช่วงที่คำสั่งหัวหน้าคสช.ฉบับที่ 3/2558 ข้อ 12 เรื่องห้ามชุมนุมทางการเมืองตั้งแต่ห้าคนขึ้นไปยังบังคับใช้อยู่ พ.ร.บ.นี้ไม่มีบทบาทเป็นเครื่องมือปิดกั้นการชุมนุมมากนัก เจ้าหน้าที่อาจนำพ.ร.บ.ชุมนุมฯ มาใช้เป็นข้อหาเพิ่มเติมในการดำเนินคดีกับผู้ใช้เสรีภาพการชุมนุม แต่ข้อหาหลักยังเป็นคำสั่งหัวหน้าคสช. 
IMG_20190121_142835
อ่าน

เจ้าของเพลง #ประเทศกูมี เตรียมรับรางวัลที่นอร์เวย์ ส่วนนักกิจกรรมสองคนเตรียมขึ้นศาลเพราะเปิดเพลง #ประเทศกูมี หน้ากองทัพบก

27 พฤษภาคม 2562 เฟซบุ๊ Rap Against Dictatorship เจ้าของเพลงประเทศกูมี โพสต์ข้อความว่ได้รับรางวัล Václav Havel Prize for Creative Dissent
อ่าน

เพราะคุณอยู่เราจึงปรากฎ 2: จากความอึดอัดสู่แรงบันดาลใจในงานศิลป์

การยึดอำนาจของคสช.ในวันนี้เมื่อ 5 ปีที่แล้ว (22 พฤษภาคม 2557) นำมาซึ่งจุดจบของหลายๆสิ่ง เช่น จุดจบของรัฐธรรมนูญฉบับปี 2550 ที่แม้จะมีที่มาจากการรัฐประหารแต่ก็เป็นรัฐธรรมนูญฉบับแรกที่ประชาชนมีโอกาสออกเสียงประชามติ จุดจบของรัฐบาลที่มีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้หญิงคนแรกในประเทศไทยและจุดจบของส.ว.ที่มีที่มาจากการเลือกตั้ง (บางส่วน) ตามรัฐธรรมนูญ 2550 แต่ขณะเดียวกันการเข้ามาของคสช.ก็เป็นจุดเริ่มต้นของอีกหลายๆสิ่ง    ในขณะที่กลุ่มพลังที่เคยเคลื่อนไหวทางการเมืองก่อนการรัฐประหารอย่างกลุ่มนปช.และกลุ่ม กปปส.ยุติบทบาทการเคลื่อนไหวของตัวเอง กลุ่มนักศึกษาหรือนักกิจกรรมหน้าใหม่ๆเร
Computer law
อ่าน

“ขู่เอาผิดคนแชร์” แนวทางใหม่การใช้ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เพื่อปิดปาก

ในปี 2561 จำนวนคดี พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ จากการแชร์ข้อความบนโลกออนไลน์ โดยเฉพาะข้อความที่แสดงความคิดเห็นหรือวิพากษ์วิจารณ์การทำงานของเจ้าหน้าที่รัฐ มีแนวโน้มเพิ่มมากขึ้น รวมถึงมีการนำ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาใช้ข่มขู่การแชร์ข้อมูลบนโลกออนไลน์   
43828747_475955226146022_113285096781381632_n
อ่าน

นักวิชาการกะเทาะเพลง “ประเทศกูมี” ชี้สะท้อนสังคมและไม่สะเทือนความมั่นคงของประเทศ

จากกรณีที่พล.ต.อ.ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ออกมาให้สัมภาษณ์สื่อถึงการตรวจสอบเพลงประเทศกูมีของ Rap against dictatorship (RAD) ว่า เข้าข่ายผิดกฎหมายใดหรือไม่ นำไปสู่การวิพากษ์วิจารณ์ในสังคมถึงการบังคับใช้กฎหมาย โดยเหล่านักวิชาการร่วมกะเทาะบทเพลงขบถต่อต้านรัฐอย่าง "ประเทศกูมี" ว่า เหตุใดจึงสร้างแรงกระเพื่อมให้แก่สังคมไทยมากเช่นนี้ ขณะเดียวกันก็พาย้อนกลับไปในประวัติศาสตร์บทเพลงขบถ และวิเคราะห์การเผยแพร่เพลงในแง่มุมของกฎหมายที่ไม่ว่าทางใดก็ไม่มีทางขัดต่อกฎหมายได้
43828747_475955226146022_113285096781381632_n
อ่าน

จุดเริ่มต้นของเพลงประเทศกูมีและการดันเพดานเสรีภาพในการแสดงออก

จากกรณีที่พล.ต.อ.ศรีวราห์ รังสิพราหมณกุล รองผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ออกมาให้สัมภาษณ์สื่อถึงการตรวจสอบเพลงประเทศกูมีของ Rap against dictatorship (RAD) ว่า เข้าข่ายผิดกฎหมายใดหรือไม่ นำไปสู่การวิพากษ์วิจารณ์ในสังคมถึงการบังคับใช้กฎหมาย โดย RAD ได้เปิดเผยที่มาที่ไปของเพลงดังกล่าว
1
อ่าน

7 เรื่องจริง ที่ “ประเทศกูมี”

เพลง “ประเทศกูมี” ถูกเผยแพร่ในโลกออนไลน์และมีการพูดถึงอย่างมากจนผู้มีอำนาจเตรียมดำเนินคดี เนื้อหาเพลงว่าด้วยการนำข้อเท็จจริงของสังคมการเมืองไทยร่วมสมัยมาร้อยเรียงเป็นบทเพลง โดยขับร้องออกมาในสไตล์ Rap  กล่าวได้ว่าเพลง “ประเทศกูมี” นั้นเปิดบาดแผลของสังคมไทยที่พยายามซุกซ่อนมานานกว่าสี่ปี ชวนอ่าน 7 เรื่องจริงของประเทศกู