คำบอกเล่าจากแฟลตดินแดง ปากคำของสื่ออิสระในวันที่เจ้าหน้าที่สั่งปิดไลฟ์
อ่าน

คำบอกเล่าจากแฟลตดินแดง ปากคำของสื่ออิสระในวันที่เจ้าหน้าที่สั่งปิดไลฟ์

“ทุกคนมีสิทธิถ่ายรูป…คือถ้าทุกคนช่วยกัน มันก็จะมีภาพที่เกิดขึ้นลงในโซเชียลให้คนอื่นได้รู้ เราไม่จำเป็นต้องเป็นสื่อก็ได้” นี่คือคำยืนยันของสื่ออิสระที่เข้าไปรายงานสถานการณ์การชุมนุมภายในแฟลตดินแดง ในวันที่ 11 กันยายน 2564 โดยในวันนั้นตำรวจได้จับกุมประชาชนและอาสาพยาบาลไป 78 คน ภายใต้การทำงานของสื่อมวลชนถูกกดดันจากเจ้าหน้าที่ด้วยการตรวจบัตร และห้ามถ่ายทอดสด และใช้ข้ออ้างเรื่องเคอร์ฟิวเพื่อให้ผู้สื่อข่าวออกจากพื้นที่ชุมนุมในเวลาสี่ทุ่ม  ในขณะที่การสลายการชุมนุมยังคงไม่ยุติ ซึ่งในช่วงเวลาที่เหตุการณ์ชุลมุนวุ่นวายบริเวณแฟลตดินแดง จนมี
ถอดประสบการณ์ผู้สังเกตการณ์ชุมนุม #ม็อบ7สิงหา
อ่าน

ถอดประสบการณ์ผู้สังเกตการณ์ชุมนุม #ม็อบ7สิงหา

วันที่ 7 สิงหาคม 2564 เวลา 14.00 น. เยาวชนปลดแอกและเครือข่ายนัดชุมนุมกันที่อนุสาวรีย์ประชาธิปไตย ก่อนเวลานัดหมายในเวลา 12.20 น.
ประมวลเหตุการณ์ “จุดปะทะ” ระหว่างการชุมนุมตั้งแต่ 7 ถึง 11 สิงหาฯ 64
อ่าน

ประมวลเหตุการณ์ “จุดปะทะ” ระหว่างการชุมนุมตั้งแต่ 7 ถึง 11 สิงหาฯ 64

หากนับย้อนไปถึงวันที่ 1 สิงหาคม 2564 จะพบว่า เกิดเหตุการณ์ปะทะกันระหว่างตำรวจกับผู้ชุมนุมมาแล้วถึงสี่
นักวิชาการชี้ ปัญหาข่มขืนต้องปรับตั้งแต่ฐานคิด เสนอแก้กฎหมายให้ “ยอมความไม่ได้”
อ่าน

นักวิชาการชี้ ปัญหาข่มขืนต้องปรับตั้งแต่ฐานคิด เสนอแก้กฎหมายให้ “ยอมความไม่ได้”

จากโฆษณา Durex ที่บอกว่า “28% ของผู้หญิงที่ขัดขืน แต่สุดท้ายก็ยอม” ทำให้คนหลายกลุ่มไม่พอใจ นักนิเทศน์ศาสตร์ชี้ งานโฆษณามีผลต่อสังคมสูง NGO เสนอแก้กฎหมายข่มขืนให้ยอมความไม่ได้