ร่างพ.ร.บ.สิทธิมนุษยชนผู้เรียน หลักประกันความปลอดภัยให้กับเด็กในโรงเรียน
อ่าน

ร่างพ.ร.บ.สิทธิมนุษยชนผู้เรียน หลักประกันความปลอดภัยให้กับเด็กในโรงเรียน

กลุ่มนักเรียนเลวได้จัดทำร่างพ.ร.บ.สิทธิมนุษยชนผู้เรียนฯ เพื่อให้ประชาชนทั้งเด็กและผู้ใหญ่ร่วมกันเข้าชื่อ โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็นสามหมวด หมวดแรก สิทธิมนุษยชนผู้เรียน หมวดสอง สภาพแวดล้อมและสวัสดิภาพ หมวดสาม การมีส่วนร่วมของผู้เรียน ธัญชนก คชพัชรินทร์ หรือแบม ตัวแทนจากกลุ่มนักเรียนเลวกล่าวว่า  “เราอยากสร้างกฎหมายที่ให้เด็กเป็นประธานในประโยค เพื่อบอกว่าเด็กมีสิทธิตรงนี้ สังคมต้องจัดหาให้เขา เราคาดหวังให้คนรับรู้ถึงสิทธิที่ตัวเองมีมากขึ้นและสามารถใช้กฎหมายนี้เพื่อยืนยันสิทธิของตัวเองได้”
รวมความเรียง โควิด19 กับวัยเยาว์ที่สาบสูญ ระดับมหาวิทยาลัย
อ่าน

รวมความเรียง โควิด19 กับวัยเยาว์ที่สาบสูญ ระดับมหาวิทยาลัย

เป็นวัยรุ่นยุคโควิด19 มันไม่ง่าย ชวนฟังความในใจของนักศึกษามหาวิทยาลัยกับผลกระทบจากโควิด19 ทั้งการเรียนออนไลน์ที่ไม่ง่าย โอกาสในการเจอเพื่อนใหม่และการทำงานภาคปฏิบัติที่เสียไป และเรื่องหนักอกเมื่อ "บ้าน" อาจไม่ใช่พื้นที่เหมาะสมสำหรับการเรียนออนไลน์ และเสียงสะท้อนถึงผู้มีอำนาจว่าปัญหาใดคือเรื่องที่ต้องแก้ไขเร่งด่วน
“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”
อ่าน

“รัฐธรรมนูญใหม่ ที่มีรัฐสวัสดิการ เป็นหลักประกันคุณภาพชีวิตของประชาชน”

เปรียบเทียบรัฐธรรมนูญ พ.ศ.2540 พ.ศ.2550 และ พ.ศ.2560 สามด้าน คือ การศึกษา สุขภาพ และผู้สูงอายุ พบว่า ทั้งสามฉบับมีการกำหนดโครงสร้างด้าน “สวัสดิการ” ไว้บ้าง แต่ตั้งอยู่บนพื้นฐานแนวคิด “การสงเคราะห์ ช่วยเหลือ” มากกว่าที่จะกำหนดให้เป็นสิทธิของประชาชน
คุยกับนักปรัชญา: เหตุใดข้อเสนอเพิ่มชั่วโมงเรียนวิชาศาสนา จึง ‘ร้าย’ มากกว่าดี
อ่าน

คุยกับนักปรัชญา: เหตุใดข้อเสนอเพิ่มชั่วโมงเรียนวิชาศาสนา จึง ‘ร้าย’ มากกว่าดี

เมื่อสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) เสนอให้เพิ่มวิชาจำพวกศาสนา,คุณธรรม,จริยธรรม และหน้าที่พลเมืองใน 2 คาบท้ายของการเรียนทุกวัน รศ. เอกศักดิ์ ยุกตะนันทน์ กลับมองว่าชั่วโมงเรียนมากเกินไปอยู่แล้ว
เปิดดูวิจัย การรังแกกลุ่มนักเรียน LGBT ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาของไทย
อ่าน

เปิดดูวิจัย การรังแกกลุ่มนักเรียน LGBT ในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาของไทย

รายงานการวิจัยเผยให้เห็นว่านักเรียน 'LGBT' มากกว่าครึ่งเคยถูกรังแกเพราะว่าเป็น 'LGBT' และ 1 ใน 4 ของนักเรียนที่ถูกมองว่าเป็น 'LGBT' ก็ถูกรังแกด้วยสาเหตุเดียวกัน
สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: การศึกษาไม่เป็น “สิทธิ” รัฐต้องจัดเรียนฟรี 12 ปี จากอนุบาล 1 ถึง ม.3
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: การศึกษาไม่เป็น “สิทธิ” รัฐต้องจัดเรียนฟรี 12 ปี จากอนุบาล 1 ถึง ม.3

ที่ผ่านมารัฐธรรมนูญของไทยรับรองสิทธิการศึกษาฟรี 12 ปี ป.1-ม.6 ร่างฉบับใหม่คงสิทธิ 12 ปีไว้เท่าเดิมแต่ให้ร่นมาเริ่มเร็วขึ้นตั้งแต่ก่อนวัยเรียน จึงจบเรียนฟรีที่ ม.3 และให้มีกองทุนช่วยเหลือผู้ขาดแคลนทุนทรัพย์ แนวทางจัดการศึกษามุ่งให้เป็นคนดีมีวินัย ภูมิใจในชาติ
ผ่านแล้ว! เกษตร-มธ.-มข.-สวนดุสิต ออกนอกระบบ: ทบทวนประวัติศาสตร์ และความเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น
อ่าน

ผ่านแล้ว! เกษตร-มธ.-มข.-สวนดุสิต ออกนอกระบบ: ทบทวนประวัติศาสตร์ และความเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น

พระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ – เกษตรศาสตร์ – ขอนแก่น – สวนดุสิต ฉบับใหม่กำหนดให้เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ ประกาศใช้แล้ว ย้อนดูประวัติศาสตร์ และบทเรียนเมื่อมหาวิทยาลัยต่างๆ ออกนอกระบบ ค่าเรียนจะแพงขึ้นและรัฐจะประหยัดงบจริงหรือไม่
คุยกับครูเรื่องปฏิรูปครู : จำนวนครูไม่ได้ขาด เงินเดือนไม่ได้น้อยเกินไป
อ่าน

คุยกับครูเรื่องปฏิรูปครู : จำนวนครูไม่ได้ขาด เงินเดือนไม่ได้น้อยเกินไป

เจาะประเด็นค่าตอบแทนครูและเงินประจำตำแหน่ง สถานการณ์ขาดแคลนครู ทำไมคนเรียนเก่งไม่อยากเป็นครู ระบบการผลิตครูปัจจุบันมีปัญหาอย่างไร กับข้าราชการครูหนุ่มไฟแรงที่เต็มเปี่ยมด้วยจิตใจความเป็นครู
อยากทำการศึกษาในระบบให้เป็นทางเลือกหนึ่ง
อ่าน

อยากทำการศึกษาในระบบให้เป็นทางเลือกหนึ่ง

ประเด็นความตกต่ำของการศึกษาไทยเป็นที่ถกเถียงซ้ำแล้วซ้ำเล่า iLaw สนทนากับ ลำยอง เตียสกุล และ จิรพันธ์ สำเริงเรือง สองสาวใจดีจากเครือข่ายการศึกษาเพื่อเด็ก
“การศึกษาไทย เอาไงดีวะ!?”
อ่าน

“การศึกษาไทย เอาไงดีวะ!?”

iLaw ขอเชิญชวนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา นักเรียนอาชีวะ และบุคคลทั่วไปร่วมประกวดคลิปวิดิโอความยาวไม่เกิน 7 นาที นำเสนอไอเดียปฏิรูปการศึกษาใหม่ๆ ที่ไม่พูดวนไปมาอยู่ในอ่าง