Press Freedom Day
อ่าน

ฐปนีย์รับหมายคดี “หมิ่น ส.ส.” ในวันเสรีภาพสื่อโลก วิทิตร้อง UN สั่งยุติคดีการเมืองต่อเด็ก

งานเสวนาวันเสรีภาพสื่อโลก ฐปนีย์ เผยเพิ่งได้รับหมายเรียกฐานหมิ่นประมาท จากการรายงานข่าวว่า ส.ส. ถูกร้องเรียนให้ตรวจสอบพฤติกรรม ศ.วิทิต ยืนยันต้องยุติคดีการเมืองก่อนแล้วค่อยแก้กฎหมาย ร้ององค์กร UN สั่งยุติคดีอาญาต่อเด็กอายุต่ำกว่า 18 ปีที่แสดงออกทางการเมือง
public seminar
อ่าน

เสรีภาพทางวิชาการ ในบรรยากาศใต้ระบอบแห่งการ “ย้อนกลับ”

5 เมษายน 2564 เวลา 13.30 – 16.30 น. ศูนย์วิจัย ดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ร่วมกับโครงการบัณฑิตศึกษา คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และสำนักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน จัดงานเสวนาวิชาการในหัวข้อ เสรีภาพทางวิชาการ ในสภาวะเสื่อมถอย
พรกฉุกเฉิน
อ่าน

แถลงการณ์ คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ เรื่อง เรียกร้องให้ยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรง

คณาจารย์คณะนิติศาสตร์ ออกแถลงการณ์เรื่อง เรียกร้องให้ยกเลิกประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินที่มีความร้ายแรงในเขตท้องที่กรุงเทพมหานครเมื่อวันที่ 15 ตุลาคม 2563 
NBCT was sued due to enforced face recognition policy in southern province
อ่าน

คนสามจังหวัดฟ้อง กสทช. เหตุตัดสัญญาณมือถือเพราะไม่สแกนใบหน้า

2 กรกฎาคม 2563 มูลนิธิผสานวัฒนธรรม โดยปรีดา นาคผิว ในฐานะผู้รับมอบอำนาจของผู้ฟ้องคดี ได้ยื่นฟ้องกสทช. ต่อศาลปกครองกลาง เนื่องจากประชาชนในจังหวัดชายแดนใต้ถูกตัดสัญญาณโทรศัพท์ เพราะไม่ได้ลงทะเบียนสแกนใบหน้าซิมโทรศัพท์เคลื่อนที่ “สองแชะ” เพิ่มจากการลงทะเบียนปกติ
CU prohibition
อ่าน

กับดักเงื่อนไข “การชุมนุมต้องอยู่ภายใต้กรอบแห่งรัฐธรรมนูญและกฎหมาย รักษาไว้ซึ่งความสงบเรียบร้อยและศีลธรรมอันดี และเป็นกิจกรรมที่ได้รับอนุญาต”

บทความจาก อ.ดร.พัชร์ นิยมศิลป คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เขียนวิเคราะห์ประกาศของสำนักบริหารกิจการนิสิต ที่ไม่อนุมัติให้จัดกิจกรรม โดยอ้างว่า การชุมนุมต้องอยู่ภายใต้กรอบของกฎหมายและรัฐธรรมนูญ  
TSNBg3wSBdng7ijM8HAJWzwD3jt1Yl0EvN9CFebStkh
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ กับต้นทุนที่ประชาชนต้องแบก

ตลอดสองเดือนที่ผ่านมา รัฐบาลต่ออายุ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ถึงสองครั้ง แต่กลับไม่มีรายงานความคืบหน้าเรื่องความพร้อมของการตรวจหาผู้ติดเชื้อ หรือการจัดเตรียมอุปกรณ์ป้องกันโรค ทั้งที่เป็นหนึ่งในมาตรการสำคัญที่ทำให้ประชาชนสามารถกลับมาดำเนินกิจกรรมทางสังคมและเศรษฐกิจได้โดยไม่เสี่ยงต่อโรคระบาด
อ่าน

Thailand Post Election Report: ม.116 “ยุยงปลุกปั่น” อาวุธทางการเมืองและสิ่งทดแทน ม.112

ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 116 หรือข้อหา “ยุยงปลุกปั่น” เป็นกฎหมายที่ถูกนำมาใช้บ่อยครั้งหลังการรัฐประหารในปี 2557 เป็นต้นมา โดยเฉพาะกับกลุ่มคนที่แสดงออกหรือแสดงความคิดเห็นทางการเมืองในเชิงวิพากษ์วิจารณ์หรือต่อต้านคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.)   จากข้อมูลที่ศูนย์ข้อมูลคดีเสรีภาพรวบรวมไว้ ตั้งแต่ 22 พฤษภาคม 2557 ถึง 26 ธันวาคม 2562 มีผู้ถูกดำเนินคดีอย่างน้อย 130 ราย แบ่งเป็น   การชุมนุมหรือการแสดงออกเชิญสัญลักษณ์หรือเป็นผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง 82 ราย   การแสดงความคิดเห็นต่อสาธารณะทั้งออนไลน์และออฟไลน์ 48 ราย เฉพาะหลั
Basic Rights limitation
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ประชาชนมีสิทธิถ้ากฎหมายไม่ห้าม และไม่กระทบความมั่นคง

ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ เขียนชัดเจนว่า อะไรที่ไม่ได้ห้ามไว้ในกฎหมายประชาชนมีสิทธิเสรีภาพที่จะทำได้ เท่าที่ไม่กระทบ "ความมั่นคง" เงื่อนไขจำกัดสิทธิข้อนี้ไม่เคยมีในฉบับปี 2540 และ 2550 ส่วนสถานะ "ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์" ก็ถูกจัดวางใหม่
pic04
อ่าน

ยื่น 40,000 รายชื่อผู้ใช้เน็ตหยุด Single Gateway หยุดกฎหมายล้วงข้อมูลส่วนบุคคล

วันที่ 7 กรกฎาคม 2559 ตัวแทนเครือข่ายพลเมืองเน็ตยื่น 40,000 รายชื่อ (ตัวเลข ณ วันที่ 6 กรกฎาคม 2559) ที่ร่วมกันรณรงค์ออนไลน์ผ่าน change.org “หยุด Single Gateway หยุดกฎหมายล้วงข้อมูลส่วนบุคคล” ต่อ นายพีระศักดิ์ พอจิต รองประธานสภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) คนที่สอง เพื่อเรียกร้องให้ชะลอการพิจารณาร่างแก้ไข พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ ที่มีปัญหาในแง่การจำกัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยเฉพาะเสรีภาพในการแสดงออกและการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร อีกทั้งจะรบกวนการทำงานของระบบอินเทอร์เน็ต ทำให้การใช้งานอินเทอร์เน็ตไม่ปลอดภัย