Environment
อ่าน

รวม 6 ผลงาน ส่งเสริมทุน-ลดทอนสิ่งแวดล้อม ภายใต้เงา คสช.

หลัง คสช. เข้ายึดอำนาจ คสช. พยายามกระตุ้นเศรษฐกิจและพยายามส่งเสริมการลงทุนภายในประเทศ ไม่ว่าจะเป็น การผลักดันเรื่อง "เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ" "การจัดการระบบสัปทานแร่" "การกำกับดูแลโรงงาน"  แต่ปัญหาของการพยายามกระตุ้นเศรษฐกิจภายใต้ คสช. ได้ลดทอนมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมลงเพื่ออำนวยความสะดวกให้กลุ่มทุน
0-2
อ่าน

ศาลปกครองกลางนัดฟังคำพิพากษาคดีวอยซ์ ทีวี ฟ้องเพิกถอนคำสั่งกสทช.

27 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 10.00 น. ศาลปกครองกลางออกนั่งพิจารณาคดีเป็นครั้งแรกในคดีที่วอยซ์ ทีวีฟ้องคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.) ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 1 และสำนักงาน กสทช. ผู้ถูกฟ้องคดีที่ 2 โดยตุลาการศาลปกครองจะแถลงข้อเท็จจริงในคดี ก่อนที่ในเวลา 14.00 น. ตุลาการฯจะอ่านคำพิพากษาของคดีนี้
Daft of industry act
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ. โรงงาน: ระเบิดเวลาของชุมชนและสิ่งแวดล้อม

ร่าง พ.ร.บ.โรงงานฉบับใหม่ เปิดช่องให้มีการปลดล็อคโรงงานขนาดเล็กออกจากการควบคุม การตัดอำนาจกรมโรงงานเข้าไปควบคุมตรวจสอบ หรือ เปิดช่องเอกชนตรวจสอบโรงงานกันเอง-ช่วยกันเอง ซึ่งทำให้ถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็นการลดมาตรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อมและชุมชน จนมีภาคประชาชนออกมาคัดค้าน
BpNkYKeCQAACMzm
อ่าน

ศาลปกครองไต่สวนข้อเท็จจริงคดีวอยซ์ ทีวีฟ้องกสทช.

20 กุมภาพันธ์ 2562 เวลา 10.00 น. ศาลปกครองนัดไต่สวนข้อเท็จจริง คดีที่วอยซ์ ทีวีฟ้องกสทช. จากการสั่งระงับการออกอากาศวอยซ์ ทีวีเป็นเวลา 15 วัน ตั้งแต่วันที่ 13-27 กุมภาพันธ์ 2562 ก่อนหน้านี้วันที่ 15 กุมภาพันธ์ 2562 ศาลปกครองนัดไต่สวนฉุกเฉินทุเลาคำบังคับของกสทช. โดยศาลปกครองมีคำสั่งคุ้มครองให้วอยซ์ ทีวีออกอากาศได้ระหว่างการพิจารณาคดี  
IMG_2818
อ่าน

เปิดคำเบิกความ กรณีวอยซ์ ทีวีขอศาลปกครองไต่สวนฉุกเฉินทุเลาคำสั่งกสทช.

15 กุมภาพันธ์ 2562 ศาลปกครองนัดไต่สวนฉุกเฉิน กรณีสถานีโทรทัศน์วอยซ์ ทีวี ยื่นฟ้องกสทช. ต่อศาลปกครองและขอให้มีคำสั่งคุ้มครองชั่วคราวทุเลาการบังคับตามคำสั่งของกสทช. ให้สามารถออกอากาศได้ก่อนมีคำพิพากษาเพื่อทุเลาผลกระทบต่อธุรกิจของสถานีฯและผลกระทบต่อเสรีภาพของสื่อมวลชนและประชาชน
All for me
อ่าน

รู้หรือไม่? มีคำสั่งหัวหน้า คสช. แบบนี้ ที่เสี่ยงกระทบสิ่งแวดล้อม

การพยายามสร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษของ คสช. โดยอาศัยอำนาพิเศษจากมาตรา 44 นำมาซึ่งความกังวลว่า จะเกิดผลกระทบต่อสิทธิชุมชนและสิ่งแวดล้อม เพราะ คสช. ดูเหมือนจะเอาให้ได้ สั่งข้ามหัวทั้งผังเมือง ทั้ง EIA ไม่ต้องสร้างการมีส่วนร่วมใดๆ ทั้งสิ้น
Detcharut
อ่าน

ถอดบทเรียน คสช. ใช้มาตรา 44 สร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษ ข้ามหัวสิทธิชุมชน กับ เดชรัต สุขกำเนิด

คสช. ใช้อำนาจพิเศษตามมาตรา 44 ออกคำสั่งมากมายหลายเรื่องเพื่อจัดการทรัพยากร โดยตัดสินใจไปก่อนไม่มีส่วนร่วมจากประชาชนในท้องถิ่น เช่น การสร้างเขตเศรษฐกิจพิเศษ การยกเว้นผังเมือง และข้ามขั้นตอนอีไอเอ อ.เดชรัต สุขกำเนิด พาชำแหละผลกระทบที่อาจตามมาจากอำนาจพิเศษแบบนี้
pakorn
อ่าน

คุยกับปกรณ์ พึ่งเนตร: ประกาศคุมสื่อของคสช.มีธงและใช้ไม่ได้จริง

การขับรถถังไปจอดตามสถานีกระจายสัญญาณวิทยุและโทรทัศน์ดูจะเป็นธรรมเนียมปฏิบัติในการคุมสื่อของคณะรัฐประหารไทยแทบทุกชุดไปเสียแล้ว แต่ในยุคที่การนำเสนอข้อมูลข่าวไม่ได้ถูกผูกขาดโดยสถานีโทรทัศน์และวิทยุเช่นในปัจจุบัน การใช้รถถังดูจะเป็นได้แค่ ‘มาตรการเชิงสัญลักษณ์’ เท่านั้น คณะรักษาความสงบแห่งชาติจึงต้องออกประกาศคสช.อย่างน้อยแปดฉบับและคำสั่งหัวหน้าคสช.อีกอย่างน้อยหนึ่งฉบับเพื่อควบคุมการนำเสนอข่าวของทั้งสื่อกระแสหลักและสื่อสังคมออนไลน์ <
Letter Submission
อ่าน

แถลงการณ์เครือข่ายประชาชนเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน ข้อเสนอต่อการแก้พ.ร.บ.สิ่งแวดล้อมฯ

ขณะที่ภาครัฐกำลังเดินหน้าแก้ พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535 ด้านภาคประชาชนก็ห่วง ระบบ EIA ที่เดิมล้มเหลวอยู่จะถูกแก้ให้ถอยหลัง ไม่ก้าวหน้า แถมจะยัดคำสั่งตามมาตรา 44 ที่ให้ประมูลก่อน EIA ผ่าน เข้ามาอยู่ในร่างพ.ร.บ.นี้อีก จึงออกแถลงการณ์คัดค้าน
mining bill
อ่าน

สรุปเสวนา: วิเคราะห์ร่าง พ.ร.บ.แร่ เอื้อเอกชนทำเหมืองง่าย ภาคประชาชนคัดค้าน

เครือข่ายประชาชนผู้เป็นเจ้าของแร่ของประเทศไทย จัดเวทีวิเคราะห์กฎหมายแร่ฉบับใหม่ ในหัวข้อ “พ.ร.บ.แร่ นี่มันแย่จริงๆ” นอกจากนี้ตัวแทนเครือข่ายประชาชนผู้รับผลกระทบจากหกพื้นที่สะท้อนปัญหาและคัดค้านร่าง พ.ร.บ.แร่