Labour Right Weak Not Guarantee Minimum wage across country
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: สิทธิแรงงานอ่อนแอ ไม่ประกันค่าแรงขั้นต่ำเท่ากันทั่วประเทศ

ผู้ใช้แรงงานซึ่งเป็นกำลังหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจประเทศย่อมได้รับการคุ้มครองสิทธิตามรัฐธรรมนูญ ทั้งนี้รัฐธรรมนูญ 2560 ใช้ข้อความว่า ให้แรงงานได้รับค่าแรงที่เหมาะสมแก่การดำรงชีพ
Election System
อ่าน

เลือกตั้ง 5 ครั้งใช้ 4 ระบบ เปรียบเทียบระบบเลือกตั้ง 2540 ถึงปัจจุบัน

ในระยะเวลา 20 ปี นอกจากจะมีรัฐธรรมนูญ 3 ฉบับแล้ว ยังมีระบบเลือกตั้งถึง 4 แบบ จัดการเลือกตั้งที่นับผลจริงได้ 5 ครั้ง โดยเป็นพรรคการเมืองเดิมที่กวาดที่นั่ง ส.ส. ไปมากที่สุดทั้ง 5 รอบ ชวนดูเปรียบเทียบระบบเลือกตั้งทั้ง 4 แบบ และข้อดีข้อเสีย ก่อนจะต้องออกแบบกันใหม่อีกไม่รู้กี่รอบ
CoverRight
อ่าน

สรุปรัฐธรรมนูญ 2560: สิทธิผู้บริโภคถดถอย การจัดตั้งองค์กรอิสระเพื่อผู้บริโภคยังไร้หวัง

รัฐธรรมนูญ 2560 ให้การคุ้มครองสิทธิผู้บริโภคเป็น “หน้าที่ของรัฐ” ตัดสิทธิของผู้บริโภคในการร้องเรียนและได้รับเยียวยาจากความเสียหายออก สิทธิของประชาชนในการรวมตัวจัดตั้งองค์กรอิสระเพื่อผู้บริโภคยังคงอยู่ แต่ไม่ถึงขั้นบังคับให้ต้องเกิดขึ้นให้ได้
How to Amend
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ: รัฐธรรมนูญ 2560 แก้ไขยาก ต้องให้ ส.ว. 1 ใน 3 เห็นด้วย

รัฐธรรมนูญปี 2560 แก้ไขยากเมื่อเทียบกับรัฐธรรมนูญปี 2540 และ 2550 โดยเฉพาะเงื่อนไขที่ต้องมีเสียง ส.ว. 1 ใน 3 และฝ่ายค้านร้อยละ 20 ในจำนวนเสียงเห็นชอบ นอกจากนี้ ยังให้ทำประชามติหากแก้ไขบททั่วไป หมวดกษัตริย์ วิธีแก้ไขรัฐธรรมนูญ คุณสมบัตินักการเมือง อำนาจศาลและองค์กรอิสระ ท้ายสุดให้ศาลรัฐธรรมนูญชี้ขาดว่าแก้ได้หรือไม่
อ่าน

10 กลไกตามรัฐธรรมนูญ ที่ส่อทำให้การเลือกตั้งไร้ความหมาย

กลไกใหม่ๆ ตามรัฐธรรมนูญ 2560 เช่น กฎหมายพรรคการเมือง การนับที่นั่งส.ส. กลไกลนายกฯคนนอก ฯลฯ หากถูกนำมาใช้ประกอบกันในเงื่อนไขและจังหวะเวลาที่ถูกต้อง อาจทำให้ คสช. สามารถควบคุมผลการเลือกตั้งครั้งหน้าได้ และทำให้การเลือกตั้งที่กำลังจะเกิดขึ้นไม่มีความหมาย
assent to throne
อ่าน

การสืบราชสันตติวงศ์ (สืบราชสมบัติ)

สถาบันพระมหากษัตริย์เป็นสถาบันสำคัญของประชาชนชาวไทย และอยู่คู่สังคมไทยมาอย่างช้านาน ไม่ว่าประเทศจะประสบปัญหาใดๆ แต่สถาบันฯ ไม่เคยห่างหายไปจากสังคม ขั้นตอนหนึ่งของการคงอยู่อย่างต่อเนื่องก็คือ “การสืบราชสันตติวงศ์” ที่ปรากฏในกฎมณเฑียรบาลว่าด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ และรัฐธรรมนูญ 2550
Community Rights
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตัด ‘สิทธิในสิ่งแวดล้อมที่ดี’ โบกมือลาองค์การอิสระด้านสิ่งแวดล้อม

ยังมีความเห็นที่แตกต่างกันในสังคมว่า ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ จะช่วยคุ้มครองและทำให้สิทธิของชุมชนใช้ได้จริงในทางปฏิบัติมากขึ้นหรือน้อยลง เนื่องจากร่างนี้ ‘ตัดสิทธิ’ การแสดงความคิดเห็นของประชาชนต่อโครงการของรัฐ และตัดขั้นตอนการขอความเห็นชอบจากองค์กรอิสระด้านสิ่งแวดล้อมก่อนดำเนินโครงการต่างๆ
Basic Rights
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: เมื่อ “สิทธิเสรีภาพ” เขียนใหม่เป็น “หน้าที่ของรัฐ”

ร่างรัฐธรรมนูญฉบับ 2559 เขียนหมวดหน้าที่ของรัฐขึ้นมาเป็นครั้งแรก และเขียนสิทธิหลายประการใหม่ไว้ในหน้าที่ของรัฐแทน หลายฝ่ายกังวลว่าจะเป็นการตัดสิทธิของประชาชน ด้าน กรธ.มองว่า เขียนแบบนี้คุ้มครองได้มากกว่า
Decentralization
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: กระจายอำนาจถอยหลัง บางท้องถิ่นไม่ต้องเลือกตั้ง และลดการมีส่วนร่วมประชาชน

ประเด็นการกระจายอำนาจเป็นสิ่งที่พัฒนาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่รัฐธรรมนูญ 2540 ถึงรัฐธรรมนูญ 2550 แต่ปัจจุบันการกระจายอำนาจสู่ระดับท้องถิ่นต้องหยุดชะงักลงอย่างไม่มีกำหนด เมื่อ คสช.รัฐประหาร นอกจากนี้ในร่างรัฐธรรมนูญปี 2559 ที่จะถูกนำไปออกเสียงประชามติก็ไม่มีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างชัดเจนถึงการกระจายอำนาจสู่ระดับท้องถิ่น เมื่อเปรียบเทียบกับร่างรัฐธรรมนูญฉบับก่อนหน้า