International Agreement Law
อ่าน

ต้องรอบคอบแค่ไหนก่อนทำสัญญาระหว่างประเทศ? ความฝันประชาชน vs ข้อเสนอกระทรวงต่างประเทศ

กระทรวงต่างประเทศกำลังเสนอกฎหมายใหม่ กำหนดวิธีการฟังเสียงประชาชนเพื่อให้รัฐบาลไปตกลงทำสัญญาระหว่างประเทศ ให้เปิดช่องทางออนไลน์ จัดประชุม ทำโพล ฯลฯ แต่ให้เวลาอย่างน้อย 15 วัน ส่วนช่องทางอื่นๆ ที่ประชาชนเคยเสนอไว้ให้เปิดเผยข้อมูล เปิดเผยร่างสัญญา มีผู้สังเกตการณ์ หายไปหมดแล้ว
FTA Watch Statement
อ่าน

แถลงการณ์ “จับตาเอฟทีเอ: ยุคสมัยที่มาตรา 190 หายไปจากรัฐธรรมนูญ”

กลุ่มศึกษาข้อตกลงเขตการค้าเสรีภาคประชาชน (เอฟทีเอว็อทช์) แถลงกรณีรัฐบาลเตรียมรื้อฟื้นการค้าไทย-อียู หวั่นค่าใช้จ่ายด้านยาแพงขึ้น 81,356 ล้านบาท เกิดการผูกขาดเมล็ดพันธุ์ เกษตรกรไม่สามารถเก็บเมล็ดพันธุ์และส่วนขยายพันธุ์ไปเพาะปลูกต่อได้ ชี้รัฐธรรมนูญ 60 เรื่องข้อตกลงระหว่างประเทศล้าหลังที่สุด
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตัดขั้นตอนรับฟังประชาชน ก่อนการทำข้อตกลงระหว่างประเทศ

ก่อนหน้านี้ ถ้ารัฐบาลจะลงนามในข้อตกลงระหว่างประเทศที่มีผลต่อเศรษฐกิจและสังคม ต้องให้ข้อมูลประชาชนและจัดรับฟังความคิดเห็นของประชาชนประก่อนการดำเนินการ แต่ตามร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ ไม่มีขั้นตอนนี้คอยบังคับรัฐบาลแล้ว
fah hai
อ่าน

ฟ้าให้ทีวี ครั้งแรกที่ใช้ ม.44 ปิดสถานีโทรทัศน์

เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2558 สถานีวิทยุโทรทัศน์ ฟ้าให้ทีวี (Fah Hai TV) ที่มีพรทิพา หรือ ดีเจฟ้า เป็นเจ้าของ ถูกเจ้าหน้าที่ทหารเข้าตรวจค้นและยึดอุปกรณ์ของสถานี โดยอาศัยอำนาจตามคำสั่งหัวหน้า คสช.
images
อ่าน

มาตรา 190 ตายแล้ว…ความล้มเหลวของระบบรัฐสภาไทย

การประชุมของรัฐสภาได้ลงมติเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม โดยเสียงข้างมากแก้ไขเนื้อหาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ม.190
190
อ่าน

เอฟทีเอวอทช์ห่วง แก้รธน.มาตรา 190 กฎหมายลูกต้องชัดเจน

เอฟทีเอ วอทช์ ห่วง แก้มาตรา 190 ไม่ครอบคลุมการเจรจาระดับพหุภาคี ย้ำกฎหมายลูกตามมาตรา 190 มีความสำคัญต้องเขียนรายละเอียดให้ชัดเจน
no trips plus
อ่าน

ชุมนุมท้วงเอฟทีเอไทย-อียู เปิดข้อมูลทุกครั้ง ก่อน -หลัง เจรจา

รัฐธรรมนูญไทยดูเหมือนทันสมัยที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน แต่ในทางปฏิบัติ กลไกกฎหมายที่เอื้อให้มีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง การเคลื่อนไหวบนท้องถนนยังจำเป็น กรณีการเจรจาเอฟทีเอไทย-สหภาพยุโรปคือตัวอย่างล่าสุด
อ่าน

ตุลาการผู้แถลงคดีชี้ ร่างพ.ร.บ.การจัดทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ ประชาชนไม่มีสิทธิเสนอ

ตุลาการผู้แถลงคดีศาลปกครองแถลงความเห็นว่าคำสั่งประธานรัฐสภา ที่ปฏิเสธไม่รับร่างพ.ร.บ.การจัดทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ ของภาคประชาชนนั้นชอบด้วยกฎหมายแล้ว เพราะร่างกฎหมายนี้อยู่ในรัฐธรรมนูญหมวด 9 ว่าด้วยคณะรัฐมนตรี ประชาชนไม่มีสิทธิเสนอ
อ่าน

“หมวด 3 หมวด 5” อย่าตีกรอบประชาชนตั้งแต่ต้นทาง

ร่างกฎหมายที่ประชาชนระดมชื่อได้นับหมื่น เมื่อหอบไปกองหน้ารัฐสภากลับถูกถีบกลับออกมา โดยอ้างว่าเป็นเรื่องที่ประชาชนไม่มีสิทธิเสนอ “จักรชัย โฉมทองดี” ผู้แทนเสนอร่างพ.ร.บ.จัดทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ เล่าประสบการณ์ที่ผ่านขวากหนาม ก่อนจะนำเรื่องฟ้องศาลปกครองเพื่อทวงนิยามสิทธิประชาชน  
อ่าน

สัปดาห์ที่สอง เดือนกุมภาพันธ์ 54: คดีพ.ร.บ.คอมฯ ขึ้นศาลแล้ว 2 คดี

สืบพยานคดีพ.ร.บ.คอมพิวเตอร์2 นัดในวันเดียว, ร้อง UN ช่วยตรวจสอบ หวั่นรัฐใช้พรบ.มั่นคงฯ ละเมิดสิทธิผู้ชุมนุม