อ่าน

รายงาน การปิดปากผู้ชุมนุมโดยอ้างเหตุสาธารณสุข : การใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯในทางที่ผิด

รายงานสรุปสองปีครึ่ง ที่รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ ประกาศพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เพื่อควบคุมโควิด19 แต่นำมาใช้ดำเนินคดีกับผู้ชุมนุมต่อต้านรัฐบาลอย่างกว้างขวาง จนคดีการเมืองพุ่งสูงมากที่สุดอย่างไม่เคยมีมาก่อน
52746702494_54ca11a8de_o
อ่าน

เปิดปากคำพยานคดีฟ้องเพิกถอนข้อกำหนด พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ข้อเท็จจริงชัดอ้างโควิดปราบการชุมนุม

ภายใต้สถานการณ์ฉุกเฉินพล.อ.ประยุทธ์ออกข้อกำหนดรวม 47 ฉบับ ฉากหน้าของข้อกำหนดเหล่านี้ระบุว่า เป็นไปเพื่อใช้ในการปราบปรามโรคระบาดอย่างโควิด-19 หากหลายฉบับมีวาระซ่อนเร้นเพื่อใช้ในทางปราบปรามเสรีภาพในการชุมนุม นำไปสู่การฟ้องร้องต่อศาลแพ่งเพื่อเพิกถอนข้อกำหนดปิดปาก
discrimination against foreign migrant workers
อ่าน

หนึ่งปียังไม่ได้เยียวยา เดินหน้าฟ้องศาลปกครอง เหตุ “ม.33 เรารักกัน” กำหนดเงื่อนไขกีดกันแรงงานข้ามชาติ

ภายหลังมีความพยายามยื่นเรื่องร้องเรียนไปยังหลากหลายหน่วยงานในปี 2564 เมื่อวันที่ 27 พ.ค. 65 กลุ่มผู้ใช้แรงงานข้ามชาติ พร้อมด้วยมูลนิธิเพื่อสิทธิมนุษยชนและการพัฒนา (มสพ.) เดินทางมาที่ศาลปกครองเพื่อยื่นฟ้ององค์กรภาครัฐที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดเงื่อนไขโครงการ #ม33เรารักกัน ไว้เฉพาะ “ผู้มีสัญชาติไทย” ส่งผลให้แรงงานข้ามชาติไม่ได้สิทธิรับเงินเยียวยา แม้จ่ายเงินเข้าระบบในอัตราเดียวกับคนไทย
Universal principle regarding assembly
อ่าน

มติยูเอ็น : โรคระบาดโควิด19 ไม่ควรใช้จำกัดสิทธิขั้นพื้นฐาน เช่นเสรีภาพการชุมนุม

ในช่วงเวลาเดียวกับที่โควิดกำลังระบาดไปทั่วโลก และหลายประเทศก็ออกกฎหมายจำกัดเสรีภาพของประชาชน วันที่ 17 กรกฎาคม 2563 คณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UNHRC) ได้มีมติที่ 44/20 เรื่อง การส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในบริบทของการชุมนุมโดยสงบ ซึ่งวางหลักการหลายอย่างไว้คุ้มครองการชุมนุมทั้งในสถานการณ์ปกติ สถานการณ์พิเศษ และสถานการณ์โรคระบาด   ชวนดูหลักการที่น่าสนใจ 
51499267579_907b5c2224_c
อ่าน

เปิดงานวิจัยการชุมนุมที่แยกดินแดง ชีวิตพลิกผันเพราะรัฐล้มเหลว การเผชิญหน้าคือทางออกสุดท้าย

การเคลื่อนไหวของทะลุแก๊ซป็นปรากฏการณ์ใหม่ในการชุมนุมเรียกร้องต่อรัฐบาล ผศ.ดร. กนกรัตน์ เลิศชูสกุลและธนาพงศ์ เกิ่งไพบูลย์ทำการศึกษาถึงที่มาที่ไปของการเกิดขึ้นของการชุมนุมที่แยกดินแดง ในรายงานเบื้องต้นเรื่องการก่อตัว พัฒนาการและพลวัตการชุมนุมบริเวณแยกดินแดง ช่วงเดือนสิงหาคม-ตุลาคม 2564
The Civil Court made an appointment to hear the order on October 8, protecting t
อ่าน

ศาลแพ่ง นัดฟังคำสั่ง 8 ต.ค. คุ้มครองเสรีภาพการชุมนุม ภายใต้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หรือไม่

ศาลนัดฟังคำสั่งในวันที่ 8 ต.ค.64 กรณีไต่สวนฉุกเฉินเพื่อขอคุ้มครองชั่วคราวหลังจากตัวแทนประชาชนได้ยื่นฟ้องต่อศาลแพ่งเพื่อขอให้เพิกถอนข้อกำหนดที่ออกโดยอาศัยอำนาจตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ฉบับที่ 15 และประกาศหัวหน้าผู้รับผิดชอบที่สั่ง "ห้ามการชุมนุม" 
Covid vs Freedom
อ่าน

สุขภาพ หรือ เสรีภาพ : โควิดไม่ใช่เหตุสลายการชุมนุมเกินสัดส่วน

การช่างน้ำหนักระหว่างเสรีภาพในการชุมนุม กับมาตรการห้ามจัดกิจกรรมเพื่อป้องกันโรคระบาด เป็นข้อถกเถียงที่เกิดขึ้นทั่วโลก รายงานเผย 86 ประเทศ มีการประท้วงต่อต้านมาตรการช่วงโควิด และ 28 ประเทศรัฐบาลใช้กำลังสลายการชุมนุมจนมีผู้เสียชีวิต 
Where is the new contagious decree?
อ่าน

ตามหาร่างหาย!! ร่างพ.ร.ก.ที่ครม.ประยุทธ์ อนุมัติแล้ว อยู่ไหน?? ใครพบเห็นรีบแชร์ด่วน!!

ครม.เห็นชอบร่างพระราชกำหนดแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติโรคติดต่อ พ.ศ.2558 พ.ศ….. เพื่อที่ต่อไปจะได้ไม่ต้องประกาศใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ อีก แต่จากการสืบค้นมติคณะรัฐมนตรีทื่เว็บไซต์ของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 22 กันยายน 2564 เวลา 17.00 กลับไม่พบรายละเอียดเกี่ยวกับร่างพ.ร.ก.โรคติดต่อ ฉบับสำคัญ
PM resign
อ่าน

เปลี่ยนขุนศึกกลางสงคราม : เหล่าผู้นำที่ลาออกเพราะบริหารจัดการโควิดล้มเหลว

สถานการณ์โควิด-19 พรากชีวิตหรือความสุขของผู้คนทั่วโลกไป เหมือนภาพสะท้อนการทำงานของรัฐบาล หลายประเทศที่จัดการกับวิกฤติไม่ได้ "ผู้นำ" ตัดสินใจลาออกจากตำแหน่ง เพื่อแสดงความรับผิดชอบต่อการบริหารจัดการที่ล้มเหลว และเปิดโอกาสให้คนอื่นเข้ามาทำหน้าที่แทน
51309642352_e7fc64ce0c_k_1
อ่าน

รวมบทความ “วัยเยาว์ที่สาบสูญ” ระดับมัธยมศึกษา

ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 ที่ยืดเยื้อมาเป็นปีที่สอง นักเรียนและนักศึกษาเป็นกลุ่มที่ได้รับผลกระทบอย่างหนักหน่วง ไอลอว์ชวนนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาเขียนความในใจเล่าประสบการณ์การเรียนออนไลน์ที่ผ่านมา