Car Mob เคลื่อนไหวรูปแบบใหม่ ไม่เสี่ยงโรค แต่ไม่พ้นคดี
อ่าน

Car Mob เคลื่อนไหวรูปแบบใหม่ ไม่เสี่ยงโรค แต่ไม่พ้นคดี

สมบัติ บุญงามอนงค์ ประกาศจัดกิจกรรม “คาร์ม็อบ” เพื่อขับไล่รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชาเป็นครั้งแรกในวันที่ 3 กรกฎาคม 2564 โดยชักชวนให้คนมีรถขับรถเข้ามาร่วมการชุมนุม การจัดกิจกรรมคาร์ม็อบนับเป็นความพยายามในการปรับยุทธวิธีการเคลื่อนไหวในยามที่โรคโควิด19 กำลังระบาด ทำให้คนกล้าออกจากบ้านมาร่วมชุมนุมโดยมีวิธีการป้องกันตัวไม่ต้องพบปะพูดคุยกับคนจำนวนมาก ไม่ได้รวมตัวกันในพื้นที่แออัด หรือมีการสัมผัสกันระหว่างบุคคล เนื่องจากรูปแบบกิจกรรมเป็นเพียงการรวมตัวขับรถไปตามท้องถนน และส่งเสียงด้วยการบีบแตรแทนการตะโกน  &nbs
ถอดข้อเท็จจริงแนวปะทะสมรภูมิดินแดง 18 ครั้ง ตลอดเดือนสิงหาคม 2564
อ่าน

ถอดข้อเท็จจริงแนวปะทะสมรภูมิดินแดง 18 ครั้ง ตลอดเดือนสิงหาคม 2564

ในเดือนสิงหาคม 2564 แยกดินแดง บริเวณจุดตัดถนนอโศก-ดินแดงเข้าสู่ถนนวิภาวดีกลายเป็นพื้นที่ปะทะกันด้วยความรุนแรงระหว่างกลุ่มผู้ชุมนุมที่ขับไล่รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา กับตำรวจชุดควบคุมฝูงชนอย่างน้อย 18 วัน จนถูกตั้งชื่อเล่นว่า “สมรภูมิดินแดง” ขณะที่กลุ่มผู้ชุมนุมก็ตั้งชื่อตัวเองภายหลังอย่างไม่เป็นทางการว่า “ทะลุแก๊ซ” ซึ่งน่าจะมาจากการฟันฝ่ากับแก๊สน้ำตาที่ตำรวจใช้กับผู้ชุมนุมอย่างไม่ลดละ   &n
ถอดประสบการณ์ตำรวจชั้นผู้น้อยคุมม็อบ ความรุนแรงไม่ใช่ทางออกและลดพลังประเด็นขับไล่ประยุทธ์
อ่าน

ถอดประสบการณ์ตำรวจชั้นผู้น้อยคุมม็อบ ความรุนแรงไม่ใช่ทางออกและลดพลังประเด็นขับไล่ประยุทธ์

18 กรกฎาคม 2564 เยาวชนปลดแอกและเครือข่ายนัดชุมนุมเพื่อเรียกร้องให้พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ลาออก, ลดงบสถาบันกษัตริย์และกองทัพเพื่อมารับมือกับโควิด 19 และจัดหาวัคซีนป้องกันโควิด 19 ชนิด mRNA การชุมนุมดังกล่าวเกิดขึ้นให้หลังการปะทะที่กระทรวงสาธาณสุข ผู้จัดการชุมนุมจึงวางทีมดูแลผู้ชุมนุมและป้องกันไม่ให้มีการปะทะที่หน้าแนวตำรวจ อย่างไรก็ตามเมื่อผู้ชุมนุมยืนยันที่จะเดินขบวนผ่านถนนราชดำเนินกลางเพื่อไปทำเนียบรัฐบาล ตำรวจก็เริ่มใช้กำลังสลายการชุมนุมด้วยการฉีดน้ำ แก๊สน้ำตาและกระสุนยาง
คุณคัดค้านนิรโทษกรรมแบบไหน?
อ่าน

คุณคัดค้านนิรโทษกรรมแบบไหน?

ใครๆ ก็พูดเป็นเสียงเดียวกันว่า ต้องออกมาคัดค้านพ.ร.บ.นิรโทษกรรม หลายคนตัดสินใจออกมาชุมนุมกับกลุ่มต่างๆ มีไม่น้อยที่แสดงออกผ่านทางโซเชียลมีเดียโดยเปลี่ยนภาพในเฟซบุคขึ้นข้อความ “คัดค้าน พ.ร.บ.นิรโทษกรรม” บรรยากาศการเมืองในจังหวะนี้ เรียกได้ว่า แม้แต่คนที่คิดต่างกันเรื่องการเมืองตลอดมา ต่างก็หันมาพูดเรื่องเดียวกัน อย่างไรก็ดี ภายใต้การคัดค้านเหมือนกัน แต่เหตุผลของแต่ละฝ่ายก็แตกต่างกันอยู่มาก ลองสำรวจตัวคุณเองว่า คุณเชื่อแบบไหน และสอดคล้องกับกลุ่มใด