สรุปสถานการณ์ปี 2557 5/5 : เก็บตกเหตุการณ์ก่อน-หลังรัฐประหาร การเซ็นเซอร์ตัวเอง การปิดกั้นสื่อออนไลน์ การปิดวิทยุชุมชน และอื่นๆ
อ่าน

สรุปสถานการณ์ปี 2557 5/5 : เก็บตกเหตุการณ์ก่อน-หลังรัฐประหาร การเซ็นเซอร์ตัวเอง การปิดกั้นสื่อออนไลน์ การปิดวิทยุชุมชน และอื่นๆ

ปี 2557 ประเทศไทยเปิดศักราชด้วยบรรยากาศทางการเมืองที่ร้อนแรง โดยเฉพาะการนำสื่อมาใช้เป็นเครื่องมือในการต่อสู้ทางการเมือง นำไปสู่การควบคุมสื่อของทั้งฝ่ายรัฐและฝ่ายประชาชน สำหรับฝ่ายรัฐ กสทช.
สรุปสถานการณ์เสรีภาพการแสดงออกปี 2557 4/5: การฟ้องคดีหมิ่นประมาท และ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เพื่อปิดกั้นการแสดงออก
อ่าน

สรุปสถานการณ์เสรีภาพการแสดงออกปี 2557 4/5: การฟ้องคดีหมิ่นประมาท และ พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ เพื่อปิดกั้นการแสดงออก

กฎหมายหมิ่นประมาทและพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 (พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ) ยังเป็นอาวุธที่ทั้งภาครัฐและเอกชนใช้เพื่อปิดกั้นหรือตอบโต้กับเรื่องราวที่ไม่อยากได้ยิน ในปีนี้มีกรณีที่การใช้เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น การให้สัมภาษณ์สื่อมวลชน หรือให้ความเห็นทางวิชาการ วิพากษ์วิจารณ์ประเด็นที่เป็นประโยชน์สาธารณะเป็นเหตุให้ถูกฟ้องคดีหมิ่นประมาทหลายกรณี
สรุปสถานการณ์ปี 2557 3/5: เสรีภาพการชุมนุม/การแสดงออกสาธารณะ และการตั้งข้อหาทางการเมือง
อ่าน

สรุปสถานการณ์ปี 2557 3/5: เสรีภาพการชุมนุม/การแสดงออกสาธารณะ และการตั้งข้อหาทางการเมือง

ภายใต้การประกาศกฎอัยการศึกทั่วประเทศต่อเนื่องกว่าหกเดือน คสช. ออกประกาศฉบับที่ 7/2557 เรื่องการห้ามชุมนุมทางการเมืองเกินห้าคน ซึ่งมีคนถูกตั้งข้อหาและดำเนินคดีฐานฝ่าฝืนประกาศฉบับนี้อย่างน้อย 24 คน และยังมีการนำข้อหา “ปลุกปั่นยั่วยุ”
สรุปสถานการณ์ปี 2557 2/5: คดีหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ เดินหน้าหนึ่งก้าวก่อนถอยหลังสามก้าว
อ่าน

สรุปสถานการณ์ปี 2557 2/5: คดีหมิ่นประมาทพระมหากษัตริย์ฯ เดินหน้าหนึ่งก้าวก่อนถอยหลังสามก้าว

ช่วงต้นปี 2557 สถานการณ์คดีตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 หรือคดีหมิ่นประมาทกษัตริย์ฯ ผ่อนคลายความตึงเครียดลงบ้าง เพราะคำพิพากษาของศาลหลายฉบับในช่วงต้นปีเป็นคุณกับจำเลย คำนึงถึงสิทธิของจำเลยและสังคมมากกว่าการมุ่งลงโทษให้หนัก โดยเฉพาะคดีที่จำเลยมีปัญหาด้านสุขภาพ
มิถุนายน 2558 1 ปี 1 เดือน รัฐประหาร: กลุ่มประชาธิปไตยใหม่ “อารยะขัดขืน” เข้าคุก 14 คน ขณะที่ทหารเข้มขึ้นหลายพื้นที่
อ่าน

มิถุนายน 2558 1 ปี 1 เดือน รัฐประหาร: กลุ่มประชาธิปไตยใหม่ “อารยะขัดขืน” เข้าคุก 14 คน ขณะที่ทหารเข้มขึ้นหลายพื้นที่

ดือนมิถุนายน มีความเคลื่อนไหวคดีชุมนุมอย่างน้อย 3 คดี ซึ่งเกิดจากการใช้อำนาจตามประกาศ คสช. ฉบับที่ 7/2557 ห้ามชุมนุมทางการเมืองตั้งแต่ 5 คนขึ้นไป ซึ่งออกโดยอาศัยอำนาจตามกฎอัยการศึกฯ และมีคดีเกิดขึ้นใหม่อย่างน้อย 4 คดี
มีนาคม 2558 : เมื่อ “พลเมืองโต้กลับ” และทหารจับแก๊งปาระเบิดศาลอาญา 15 คน
อ่าน

มีนาคม 2558 : เมื่อ “พลเมืองโต้กลับ” และทหารจับแก๊งปาระเบิดศาลอาญา 15 คน

มีเหตุระเบิด บริเวณลานจอดรถของผู้พิพากษาศาลอาญา พบร่องรอยเป็นหลุมลึกประมาณ 2 นิ้ว ไม่มีผู้ได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิต ห่างออกไปพบปลอกกระสุนปืนขนาด 11 มม. ตกอยู่ 1 ปลอก
ความเคลื่อนไหวสถานการณ์เสรีภาพการแสดงออก เดือนพฤศจิกายน 2557
อ่าน

ความเคลื่อนไหวสถานการณ์เสรีภาพการแสดงออก เดือนพฤศจิกายน 2557

ศาลอาญา พิพากษาคดีของอัครเดช โดยระบุว่า จำเลยมีความผิดตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 และพระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550 มาตรา 14
ความเคลื่อนไหวสถานการณ์เสรีภาพการแสดงออก เดือนตุลาคม 2557
อ่าน

ความเคลื่อนไหวสถานการณ์เสรีภาพการแสดงออก เดือนตุลาคม 2557

โอภาส ผู้ถูกกล่าวหาว่าเขียนข้อความที่เข้าข่ายเป็นการหมิ่นประมาทกษัตริย์ฯบนฝาผนังห้องน้ำ ห้างสรรพสินค้าซีคอนแสควร์ มีการจัดแถลงข่าวการจับกุมในวันที่ 17 ก่อนที่โอภาสจะถูกนำไปฝากขังต่อศาลทหารกรุงเทพในวันที่ 20
June 2015: 1 Year and 1 Month after the Coup: 14 New Democracy Movement activists were jailed after their “civil disobedience” action while the military is taking more action
อ่าน

June 2015: 1 Year and 1 Month after the Coup: 14 New Democracy Movement activists were jailed after their “civil disobedience” action while the military is taking more action

In June, there were at least 3 protest-related cases under NCPO Order No.7/2557 (2014). The Order, which was issued according to the power granted by the Martial Law, prohibited a political assembly of five people or more.
การคุกคามและจำกัดสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกทางการเมืองในสถาบันการศึกษา
อ่าน

การคุกคามและจำกัดสิทธิเสรีภาพในการแสดงออกทางการเมืองในสถาบันการศึกษา

หลังรัฐประหาร 2557 ทหารกดดันให้สถาบันทางการศึกษาต้องปรับตัว เช่น การไม่ให้ใช้พื้นที่ในการแสดงออกทางการเมือง ให้หยุดกิจกรรมทางวิชาการ และบางมหาวิทยาลัยก็ให้การสนับสนุนอีกด้วย