52809350155_809e98cac6_o
อ่าน

เยาวชนถูกตั้งข้อหา ม.112 ต้องติดคุกเหมือนผู้ใหญ่ไหม? กระบวนการแตกต่างกันอย่างไรบ้าง?

พุทธศักราช 2563-2566 นับว่าเป็นช่วงเวลาประวัติศาสตร์ที่มีสถิติการบังคับใช้มาตรา 112 แบบแปลกๆ เกิดขึ้นมากมาย อาทิ จำนวนผู้ถูกตั้งข้อหาในภาพรวมพุ่งสูงเกิน 200 คน, จำนวนคดีต่อคนสูงสุดอยู่ที่ 23 คดี, เกิดคดีการฟ้องทางไกลข้ามจังหวัดระยะทางกว่า 1,800 กิโลเมตร หรือมี “นักร้องหน้าซ้ำ” ที่ไปริเริ่มคดีไว้ที่สถานีตำรวจเดิมด้วยตัวเองมากถึงเก้าครั้ง เป็นต้น อย่างไรก็ตาม สถิติใหม่หนึ่งที่น่ากังวลใจ คือการนำกฎหมายดังกล่าวมาบังคับใช้กับเด็กและเยาวชนเป็นครั้งแรก โดยจากข้อมูลของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนระบุว่า ปัจจุบันมีเด็กและเยาวชนที่อายุไม่เกิน 18 ปีถูกดำ
52774001056_f7609f2ca2_o
อ่าน

RECAP112: ชวนรู้จักคดีของบอส ฉัตรมงคล ผู้ถูกตั้งข้อหา ม.112 จากการคอมเมนท์บนเพจปกป้องสถาบันฯ

ภายหลังการเกิดขึ้นของม็อบราษฎร 2563 ที่มีการ “ปฏิรูปสถาบัน” เป็นหนึ่งในข้อเรียกร้อง ประมวลกฎหมายอาญามาตรา 112 ที่กำหนดโทษการหมิ่นประมาท ดูหมิ่นหรือแสดงความอาฆาดมาดร้ายต่อพระมหากษัตริย์ฯก็ถูกรัฐบาลนำกลับมาใช้เพื่อดำเนินคดีกับประชาชน และไม่เพียงแต่เจ้าหน้าที่รัฐ สถานการณ์ดังกล่าวยังนำมาซึ่งปรากฏการณ์ “โต้กลับ” ทางกฎหมายของฝ่ายอนุรักษ์นิยมปกป้องสถาบันฯ ด้วย
52516521204_fcfc2e8ca1_o
อ่าน

RECAP เสวนา 112 Never Forget: หนึ่งคนใช้ (กฎหมาย) หลายคนเดือดร้อน

วันที่ 20 พฤศจิกายน 2565 ที่สโมสรนิสิตคณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ไอลอว์จัดกิจกรรมเปิดตัวหนังสือ “Never Stop คนและคดียังไปต่อ” มีวงสนทนากับผู้ได้รับผลกระทบจากมาตรา 112 “Never Forget: หนึ่งคนใช้ (กฎหมาย) หลายคนเดือดร้อน”  โดยมีผู้เข้าร่วมแลกเปลี่ยนเป็นจำเลยคดีมาตรา 112 ได้แก่ สุริยศักดิ์ ฉัตรพิทักษ์กุล อดีตแกนนำนปช.
52514161504_363862f4da_o
อ่าน

112 ALERT! ชวนเปิดแฟ้ม “เพชร ธนกร” คดีปราศรัย #ม็อบ6ธันวา ก่อนพิพากษา

ตัวเลข 20 คือจำนวนคดีมาตรา 112 ที่มีผู้ต้องหาเป็นเยาวชน ภายหลังการประกาศแถลงการณ์ของนายกรัฐมนตรีว่าจะนำกฎหมาย “ทุกฉบับทุกมาตรา” กลับมาใช้ดำเนินคดีกับประชาชนอีกครั้งเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2563 ส่งผลให้นี่เป็น “ครั้งแรก” ในประวัติศาสตร์ไทย ที่มีการนำกฎหมายมาตราดังกล่าวซึ่งมีโทษสูงสุดถึง 15 ปี มาบังคับใช้กับเด็กอายุไม่เกิน 18 ปี  ภาพของนักเรียนมัธยมผูกโบขาวชูสามนิ้วระหว่างเคารพธงชาติที่ถูกเผยแพร่ในช่วงปี 2563 คือหลักฐานยืนยันว่า กระแสความตื่นตัวทางการเมืองในช่วงเวลานั้นเกิดขึ้นในหมู่เยาวชนคนรุ่นใหม่ โดยหลายคนที่อา
52506662483_06aa0e5e3f_o
อ่าน

RECAP 112 : ชวนรู้จักคดี ป้ายผ้า “งบสถาบันกษัตริย์ > วัคซีน COVID 19”

(1) ย้อนกลับไปในช่วงที่สถานการณ์ COVID-19 กำลังระบาดรุนแรงเมื่อปี 2563 และการเข้าถึงวัคซีนของประชาชนในประเทศยังคงไม่ทั่วถึง ในวันที่ 30 ธันวาคม 2563 เฟซบุ๊กเพจกลุ่มพิราบขาวเพื่อมวลชนก็ได้โพสต์ภาพป้ายผ้าดิบขนาดใหญ่ที่เขียนข้อความด้วยสีดำและแดงว่า “งบสถาบันกษัตริย์>วัคซีนCOVID19” โดยป้ายดังกล่าวถูกแขวนอยู่บนสะพานรัษฎาภิเศก หรือ “สะพานขาว” สถานที่ซึ่งเป็นเสมือนแลนด์มาร์กของจังหวัดลำปาง (2) ในคดีนี้ เจ้าหน้าที่ใช้วิธี “เข้าตรวจค้น” ก่อนที่หมายเรียกคดีจะเดินทางมาถึงตามกระบวนการ โดยในเวลาไม่ถึงหนึ่งเดือนหลังภาพดั
52504446322_4ca378568c_o
อ่าน

RECAP 112: ชวนรู้จักสิทธิโชค ไรเดอร์ส่งอาหารจุดประเด็น #แบนFoodpanda

(1) ย้อนกลับไปในการชุมนุมของเยาวชนปลดแอกเมื่อวันที่ 18 กรกฎาคม 2564 ผู้ชุมนุมต้องการเคลื่อนขบวนไปทำเนียบรัฐบาลผ่านแยกผ่านฟ้า แต่ตำรวจตั้งแถวปิดและใช้กำลังให้ผู้ชุมนุมถอย หลากหลายเหตุการณ์เกิดขึ้นทับซ้อนกัน ไม่ว่าจะสื่อถูกยิงด้วยกระสุนยางที่ต้นขาโดยไม่มีการแจ้งเตือน ภาพใบหน้าโชกเลือดของเด็กหนุ่มที่ถูกตำรวจยิงด้วยกระสุนยาง การฉีดน้ำแรงดันสูงและแก๊สน้ำตาขับไล่ผู้ชุมนุมให้ไปทางถนนนครสวรรค์ คล้อยหลังที่ผู้ชุมนุมเคลื่อนขบวนไป ช่วงเย็นมีเหตุเพลิงไหม้บริเวณใกล้กับแยกผ่านฟ้าอย่างน้อยสามจุด หนึ่งในนั้นคือ ใต้ฐานซุ้มพระบรมฉายาลักษณ์รัชกาลท
52503365272_1a90fb845a_o (1)
อ่าน

สายน้ำ: คดีเยาวชนต้องถูกปฏิบัติอย่างเป็นธรรมและเปิดเผยการพิจารณาได้

ภายหลัง “มาตรา 112” ถูกรัฐบาลนำกลับมาใช้ดำเนินคดีกับประชาชนอีกครั้งเมื่อเดือนพฤศจิกายน 2563 สถิติของศูนย์ทนายความเพื่อสิทธิมนุษยชนระบุว่า ในจำนวนมากกว่า 200 คดี มี 20 คดีที่ผู้ถูกดำเนินคดียังเป็นเยาวชน รวมทั้งหมด 17 คน (ข้อมูลล่าสุดเมื่อ 17 พฤศจิกายน 2565) นี่เป็น “ครั้งแรก” ในประวัติศาสตร์ไทย ที่มีการนำกฎหมายมาตราดังกล่าว ซึ่งมีโทษสูงสุดถึง 15 ปี มาบังคับใช้กับเด็กอายุไม่เกิน 18 ปี สายน้ำ (สงวนชื่อและนามสกุลจริง) อดีตนักเรียนมัธยมปลาย เป็นหนึ่งในเยาวชน
52503518444_2a7f803855_o
อ่าน

เปิดแนวคำพิพากษาและประมวลความคืบหน้า คดีการแสดงออกต่อ “พระบรมฉายาลักษณ์และซุ้มเฉลิมพระเกียรติ”

การเผา – ทำลาย หรือการแสดงออกในรูปแบบอื่นๆ ต่อซุ้มเฉลิมพระเกียรติ เป็นการแสดงออกทางการเมืองรูปแบบหนึ่งที่เกิดขึ้นอยู่เป็นระยะในช่วงการชุมนุมตั้งแต่ปี 2563 จนถึงปี 2564 แม้ว่าก่อนหน้านั้นในยุคคสช.
52499161435_a388cb31fe_o
อ่าน

RECAP 112 : ชวนรู้จักคดี “พรชัย” หนุ่มปกาเกอะญอที่เดินทางไกล “ขึ้นเหนือ-ล่องใต้”

ชวนรู้จักกับจำเลยคดีมาตรา 112 คนสำคัญ ที่ชะตาชีวิตของเขาไม่ง่าย ภายใต้ชีวิตที่ต้องสู้ ต้องทำมาหากิน ก็ต้องมาตกเป็นจำเลยคดีที่สำคัญของยุคสมัยแถมเป็นคดี “ทางไกล” ที่สร้างภาระในชีวิตถึงสองคดี ต้องผ่านการเข้าเรือนจำ การอดอาหารประท้วงในเรือนจำ การติดโควิดในเรือนจำ และเส้นทางคดีของเขาข้างหน้ายังอาจมีเรือนจำรออยู่ (1) พรชัย หรือชื่อเล่นที่เขาตั้งให้ตัวเอง คือ มาริโอ้ พื้นเพเป็นชาติพันธุ์ปกาเกอะญอ เกิดและเติบโตในอำเภอแม่ลาน้อย จังหวัดแม่ฮ่องสอน เมื่อโตขึ้น พรชัยเดินทางเข้าไปใช้ชีวิตและแสวงหา “อนาคต” ในกรุงเทพมหานคร และใช้ชีวิตในเมืองหลวงเป็นหลักต่อเนื่องมากว่า 20 ปี&nbs