53262154719_78f9d85621_k
อ่าน

Recap คดีดูหมิ่นศาล กรณีนักกิจกรรมปราศรัยเรียกร้องสิทธิการประกันตัวนักโทษการเมืองที่ศาลอาญา

1. วันที่ 17 ตุลาคม 2566 ศาลอาญานัด ณัฐชนน ไพโรจน์ เบนจา อะปัญ และสมยศ พฤกษาเกษมสุข ฟังคำพิพากษาในคดีดูหมิ่นศาลตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 198 จากกรณีที่ทั้งสามร่วมชุมนุมและปราศรัยที่หน้าศาลอาญาเมื่อวันที่ 30 เมษายน 2564 เพื่อเรียกร้องสิทธิในการปล่อยตัวชั่วคราวให้กับจำเลยคดีการเมืองรวมทั้งคดีมาตรา 112 ที่ถูกคุมขังอยู่ในขณะนั้น
Order 41 2519
อ่าน

โทษในกฎหมาย “หมิ่น” ทั้งระบบ มรดกคณะรัฐประหาร 6ตุลาฯ

คณะรัฐประหารยึดอำนาจในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 และออกคำสั่งเปลี่ยนแปลงกฎหมายมากมาย หนึ่งในนั้นได้แก้ไขประมวลกฎหมายอาญาเพิ่มโทษ 12 มาตราที่เกี่ยวกับการ "หมิ่น" เป็นมรดกตกทอดไว้ในกฎหมายไทย เป็นอุปสรรคต่อเสรีภาพการแสดงออก การวิพากษ์วิจารณ์รัฐและสังคมต่อเนื่องมาทุกยุคสมัย
75567439_10162730978515551_7566749824473628672_o
อ่าน

Change.NCPO “ปอนด์” – อภิชาต เจ็ดวันในกองปราบ สามสัปดาห์ในเรือนจำ กับการตัดสินใจหลังได้รับอิสรภาพ

ผมเรียนจบกฎหมาย แต่ไม่อยากไปสอบเป็นทนายความหรือผู้พิพากษา ตัดสินใจไปสมัครงานกับสำนักงาน คณะกรรมการปฏิรูปกฎหมาย (คปก.) เพราะอยากเปลี่ยนแปลงในเชิงระบบมากกว่าเป็นรายกรณี ผมได้แรงบันดาลใจมาจากตอนที่เรียนกฎหมายแล้วได้ช่วยต่อสู้จนชาวบ้านที่ไร้สัญชาติได้สัญชาติไทย 60 คน ทำงานได้ไม่ถึง 1 เดือนก็มีรัฐประหาร ได้ยินข่าวว่าจะมีคนจัดชุมนุมคัดค้านการรัฐประหารที่หน้าหอศิลป์ฯ ใช้เวลาไม่นานในการตัดสินใจไปร่วม จำได้ว่าวันนั้นพอเลิกงานก็ปรินท์ข้อความ “ไม่ยอมรับอำนาจเถื่อน” บนกระดาษเอสี่ 10 แผ่นถือติดไปที่ชุมนุม
อ่าน

รอบอาทิตย์สุดท้าย เม.ย.56 : กองเซ็นเซอร์กลับใจ ไม่แบน “ฟ้าต่ำแผ่นดินสูง” หลังยอมเซ็นเซอร์

มติ กสทช.เห็นชอบช่อง 3 ยุติ ‘เหนือเมฆ’ สั่งชี้แจงเหตุสังคม / ศาลรธน. ส่งฝ่ายกฎหมาย แจ้งกองปราบจับผู้ชุมนุมหน้าศาล / 'พิทักษ์สยาม'ต้าน กม.ปรองดอง-นิรโทษฯ ให้กำลังใจศาล รธน.ทำหน้าที่ต่อ / ครม.ไฟเขียวแก้กฎหมาย กบข.ให้สิทธิ ขรก.ย้ายไปใช้บำนาญแบบเก่าใช้งบเพิ่มอื้อ / "ฝรั่งเศส" ไฟเขียว "กฎหมายสมรสเพศเดียวกัน" เป็นประเทศที่ 14 ของโลก