NCPO Reform
อ่าน

รู้จักการปฏิรูปประเทศของ คสช.

ไอลอว์รวบรวมงานเขียนที่เกี่ยวกับการปฏิรูปในยุคต่างๆ ของ คสช. เพื่อให้ได้ศึกษาที่มาที่ไปและการปฏิรูปประเทศที่เป็นมรดกจากการรัฐประหาร
photo_2021-08-11_19-15-34
อ่าน

ถอดข้อเท็จจริงแนวปะทะสมรภูมิดินแดง 18 ครั้ง ตลอดเดือนสิงหาคม 2564

ในเดือนสิงหาคม 2564 แยกดินแดง บริเวณจุดตัดถนนอโศก-ดินแดงเข้าสู่ถนนวิภาวดีกลายเป็นพื้นที่ปะทะกันด้วยความรุนแรงระหว่างกลุ่มผู้ชุมนุมที่ขับไล่รัฐบาลพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา กับตำรวจชุดควบคุมฝูงชนอย่างน้อย 18 วัน จนถูกตั้งชื่อเล่นว่า “สมรภูมิดินแดง” ขณะที่กลุ่มผู้ชุมนุมก็ตั้งชื่อตัวเองภายหลังอย่างไม่เป็นทางการว่า “ทะลุแก๊ซ” ซึ่งน่าจะมาจากการฟันฝ่ากับแก๊สน้ำตาที่ตำรวจใช้กับผู้ชุมนุมอย่างไม่ลดละ   &n
the role of the National Strategic Plan Committee under NCPO
อ่าน

เช็คเกียรติประวัติ กรรมการยุทธศาสตร์ชาติ หลังรัฐประหารทำอะไรบ้าง?

วันที่ยุทธศาสตร์ คสช. บังคับใช้ มีกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ จำนวน 29 คน เป็นกรรมการโดยตำแหน่ง  17 คน และเป็นกรรมการที่รัฐบาล คสช. แต่งตั้ง 12 คน จากการสำรวจพบว่า นับตั้งแต่ คสช. เข้ามาบริหารประเทศ กรรรมการยุทธศาสตร์ชาติส่วนใหญ่เคยผ่านการทำงานสนับสนุนรับใช้ คสช. มาด้วยตำแหน่งต่าง ดังนี้
อ่าน

“ร่างกฎหมาย 4 ชั่วโคตร” การเห็นชอบร่างกฎหมาย รับของที่ระลึก เสี่ยงคุกหนัก

ร่างพ.ร.บ.สี่ชั่วโคตร เป็นที่ฮือฮาอย่างมากในสังคม เพราะเนื้อหาของกฎหมายจะครอบคลุมญาติของเจ้าหน้าที่รัฐไว้อย่างกว้างขวาง สำหรับร่างกฎหมายฉบับนี้มีเป้าหมายในการปราบปรามการทุจริตคอรัปชั่นโดยเฉพาะอย่างยิ่งเรื่องผลประโยชน์ทับซ้อนของนักการเมืองและข้าราชการที่มีญาติพี่น้องมาเกี่ยวข้องในการคอรัปชั่น 
เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้ง
อ่าน

เส้นทางการร่างรัฐธรรมนูญคสช.: ผ่านประชามติ แก้เพิ่มอีก 4 ครั้ง

นับถึง 6 เม.ย. 60 เกว่า 2 ปี 8 เดือน คสช.ใช้เวลาในการร่างรัฐธรรมนูญฉบับถาวร โดยมีกรรมาการร่าง 2 ชุด มีร่างรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับ มีการออกเสียงประชามติ 1 ครั้ง มีการแก้ไขร่างรัฐธรรมนูญที่ผ่านประชามติ 4 ครั้ง และมีผู้ถูกดำเนินคดีเกี่ยวกับประชามติอย่างน้อย 195 คน ทั้งหมดคือสิ่งที่เกิดขึ้นก่อนจะมีรัฐธรรมนูญ 2560
อ่าน

จับตากระแสวิพากษ์วิจารณ์รัฐธรรมนูญฉบับ ‘มีชัย’

ภายหลังที่มีการเผยแพร่ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกของ “มีชัย ฤชุพันธุ์” ไม่นานกระแสวิพากษ์วิจารณ์ร่างรัฐธรรมนูญก็ทยอยออกมาไม่ว่าจะเป็นความเห็นจากอดีตสมาชิกสภาปฏิรูแห่งชาติ นักการเมือง พรรคการเมือง นักวิชาการ นักกฎหมาย และภาคประชาสังคม ทั้งนี้ เราได้ทำการรวบรวมความเห็นส่วนหนึ่งไว้เพื่อสะท้อนมุมมองของแต่ละฝ่ายว่ามีความเห็นต่อร่างรัฐธรรมนูญอย่างไร        
อ่าน

iLaw รวม 10 เรื่องเด่น ประจำปี 2558

ปี 2558 มีเรื่องราวมากมายเกิดขึ้นภายใต้การปกครองของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) จากการติดตามประเด็นเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน การจับกุมและดำเนินคดีทางการเมือง และการมีส่วนร่วมของประชาชนในการออกกฎหมายและออกนโยบาย ใกล้สิ้นปีไอลอว์จึงขอหยิบเรื่องราว 10 เรื่องที่ถือว่าโดดเด่นและน่าจดจำที่สุด ในสายตาและการทำงานของเราตลอดหนึ่งปีที่ผ่านมา ให้ได้หวนระลึกกันอีกครั้ง
nrc
อ่าน

“ไฮไลท์” ข้อเสนอ ปฎิรูปประเทศ ของสภาปฎิรูปแห่งชาติ

ภายใต้กระแส "ปฎิรูปก่อนเลือกตั้ง" ทำให้รัฐธรรมนูญชั่วคราวฯ ต้องสร้างโรงงานแห่งการปฎิรูปขึ้น ในนาม สภาปฎิรูปแห่งชาติ (สปช.) อย่างไรก็ดี ผลงานของ สปช. กลับไม่ได้ถูกหยิบยกมาเป็นประเด็นมากนัก ทั้งที่ มีข้อเสนอจำนวนมาก ดังนั้นเราจึงขอ "ไฮไลท์" ผลงานให้สังคมได้พิจารณากัน
NRC Summary
อ่าน

สรุปการทำงานสปช.: ข้อเสนอ “ครอบจักรวาล” 505 ข้อ … ไม่ใหม่ ไม่มีรายละเอียด ไม่เสร็จในเร็ววัน

สรุปการทำงาน 11 เดือน ของสปช. มีข้อเสนอการปฏิรูปรวม 505 ข้อเสนอ จัดทำออกเป็น 62 เล่ม โดยใช้งบประมาณแผ่นดินไปกว่า 700 ล้านบาท ขณะที่ข้อเสนอส่วนมากยังเป็นแค่นามธรรม ไม่มีรายละเอียด หลักคิดยังมีปัญหาเพราะเน้นไปที่การตั้งหน่วยงานใหม่ ออกกฎหมายใหม่ และไม่มีการจัดลำดับความสำคัญ มีกำหนดเสร็จอีก 17 ปี
China Reform by Arm
อ่าน

“ปฏิรูป” (เมืองจีน)

อาร์ม ตั้งนิรันดร นักวิชาการด้านกฎหมาย เชี่ยวชาญเรื่องจีน และติดตามแนวทางการปฏิรูปเมืองจีน อธิบายหลักคิดเรื่องการปฏิรูปของจีน 5 เรื่อง พร้อมทั้งตั้งคำถามถึงแนวทางการปฏิรูปที่กำลังดำเนินอยู่ในประเทศไทย