อ่าน

[วิดีโอ] ติวระบบคัดเลือก สว. 67 ที่ประชาชนต้องไปสมัคร-เพื่อ-โหวต

การสรรหาสว. ด้วยระบบ “แบ่งกลุ่มอาชีพ”-“เลือกกันเอง” เอื้อสำหรับคนที่มีเครือข่าย และมีอิทธิพลอยู่ในพื้นที่ แต่ผลลัพธ์สุดท้ายอาจ “ล็อก” ไม่ได้ง่าย หากมีผู้สมัครเข้าร่วมกระบวนการจำนวนมาก ก็ยิ่งเกิดการมีส่วนร่วมมาก ทำลายโอกาสของเสียง “จัดตั้ง”
อ่าน

พร้อมสมัคร เพื่อ โหวต สว. 2567 แล้ว! ต้องเตรียมตัวยังไง ทำอะไรบ้าง?

สำหรับผู้ที่มีอายุ 40 ปีขึ้นไป มีคุณสมบัติครบถ้วนและไม่มีลักษณะต้องห้าม และมีความสนใจสมัคร สว. หากอยากรู้ว่าต้องเตรียมตัวอย่างไร ต้องทำอะไรบ้าง มาดูเลย
อ่าน

เช็คจุดยืนพรรคการเมืองนิรโทษกรรมคดี 112

จุดยืนต่อการนิรโทษกรรมคดีมาตรา 112 ของบางพรรคการเมืองยังไม่มีความชัดเจน ชวนเช็คจุดยืนของแต่ละพรรคการเมืองในปัจจุบัน (ถึงวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2567)
อ่าน

สมัคร เพื่อ โหวต สว. 67 “แบ่งกลุ่มอาชีพ” – “เลือกกันเอง”

ระบบ แบ่งกลุ่มอาชีพ-เลือกกันเอง เอื้อสำหรับการจัดตั้งคนสมัครเลือกพวกเดียวกัน แต่ผลลัพธ์สุดท้ายอาจ “ล็อก” ไม่ได้ง่าย หากมีคนที่สมัครเข้าไปอย่าง “อิสระ”
1-1@2x-100-2
อ่าน

เลือกตั้ง 66: รวมเสียงวิจารณ์การจัดการเลือกตั้งของ กกต.

เหลือเวลาอีกไม่ถึงกี่สัปดาห์จะถึงวันเลือกตั้งในวันที่ 14 พฤษภาคม 2566 แต่เสียงวิพากษ์วิจารณ์ต่อการจัดการเลือกตั้งของคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) ยังคงเซ็งแซ่ตั้งแต่การคำนวณจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร (ส.ส.) การแบ่งเขตเลือกตั้ง การรายงานผลการนับคะแนนแบบเรียลไทม์ (Real-Time) การเปิดลงทะเบียนเลือกตั้งล่วงหน้า บัตรเลือกตั้ง จนมาถึงการให้ข้อมูลที่สำคัญกับประชาชนก่อนใช้สิทธิเลือกตั้ง
Constitutional amendments in numbers
อ่าน

แก้รัฐธรรมนูญ 5 ภาครวม 26 ข้อเสนอ ส.ว. ปัดตกแทบเกลี้ยง แม้เสียงเกินครึ่งของสภา

ตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน 2563 ถึงเดือนธันวาคม 2565 รัฐสภาร่วมกันระหว่าง ส.ส. และ ส.ว. ต้องอภิปรายลงมติร่างแก้ไขรัฐธรรมนูญทั้งหมด ห้ายก รวมทั้งหมด 26 ข้อเสนอ รวมสถิติที่น่าสนใจในศึกการแก้รัฐธรรมนูญที่ผ่านมา
NCPO Reform
อ่าน

รู้จักการปฏิรูปประเทศของ คสช.

ไอลอว์รวบรวมงานเขียนที่เกี่ยวกับการปฏิรูปในยุคต่างๆ ของ คสช. เพื่อให้ได้ศึกษาที่มาที่ไปและการปฏิรูปประเทศที่เป็นมรดกจากการรัฐประหาร
Revisiting National Reform Plan
อ่าน

ทบทวนกระบวนการปรับปรุงแผนการปฏิรูปประเทศ ล่าช้า ติดขัด กินเวลาเกือบ 2 ปีครึ่ง

กระบวนการจัดทำแผนตามกฎหมายที่ออกโดยสนช. ออกแบบให้แผนการปฏิรูปการประเทศซึ่งเป็นแผนย่อยจัดทำแล้วเสร็จก่อนยุทธศาสตร์ชาติ ทำให้ต้องมีการกลับมาทบทวนแก้ไขอีกครั้ง ซึ่งก็ต้องพบกับความล่าช้าเข้าไปอีกเมื่อคณะรัฐมนตรีให้ขยายเวลาปรับปรุงแผนการปฏิรูปประเทศออกไปและมีการตั้งคณะกรรมการปฏิรูปประเทศชุดใหม่เข้ามาจัดทำแทน เมื่อพิจารณาถึงเส้นตาย 5 ปีที่การปฏิรูปประเทศจะต้องเห็นผลแล้ว รัฐบาลต้องเสียเวลากับการร่างและแก้ไขแผนไปมากกว่าครึ่งหนึ่ง