Environment Court
อ่าน

ศาลสิ่งแวดล้อมใหม่ จำเป็นจริงหรือ?

สปท. ได้มีมติเห็นชอบรายงาน เรื่อง แนวทางการจัดตั้งศาลสิ่งแวดล้อม ขึ้นเป็นศาลชำนัญพิเศษในศาลยุติธรรม “เพื่อพัฒนานิติรัฐและประชาธิปไตยด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อให้การแก้ไขปัญหาคดีสิ่งแวดล้อมเบ็ดเสร็จในศาลเดียว โดยข้อเสนอข้างต้น มีปัญหาสำคัญอย่างน้อยสี่ประการ 
0011
อ่าน

สแกน สปท. มีงบปฏิรูปพันล้าน แต่ได้ข้อเสนอซ้ำ นามธรรม แถมถูกสังคมคัดค้าน

หลายคนอาจจะเคยได้ยินผลงานของสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปหรือสปท. มาบ้าง ไม่ว่าจะเป็น “กฎหมายตีทะเบียนสื่อ” หรือข้อเสนอเล่นเฟซบุ๊กต้องใช้สแกนลายนิ้วมือ ใบหน้า หรือเลขบัตรประชาชน แต่น้อยคนนักที่จะรู้จักหน้าค่าตาของนักปฏิรูปในสภาแห่งนี้ว่า พวกเขาเป็นใครมาจากไหน แล้วพวกเขาปฏิรูปสังคมไทยด้วยเงินภาษีประชาชนอย่างไรบ้างตลอดการทำงาน 1 ปี 10 เดือน
001
อ่าน

คนหน้าซ้ำเตรียมรับงานใหม่ ในโรดแมปการร่างยุทธศาสตร์ชาติ และแผนปฏิรูป

นับว่าเป็นการนับหนึ่ง สำหรับการจัดทำร่างยุทธศาสตร์ชาติ และเป็นยกที่สามของการเตรียมการปฏิรูปประเทศ โดยหลังจากนี้จะมีการจัดตั้งคณะกรรมการขึ้นใหม่อีกสามชุด โดยกลุ่มคนต่างๆ ที่แต่งตั้งเขามาก็คงเป็นคนหน้าคุ้นที่ผู้ภายใต้การควบคุมของคสช. 
NRSC
อ่าน

ช่วยกันศึกษา ช่วยกันคิด ช่วยกันเขียน “ปฏิรูปแบบไหน ที่ สปท. ยังไม่ได้ทำ”

ในโอกาสที่ สปท. เหลือเวลาอีกไม่นานนัก ไอลอว์ชวนทุกคนมาช่วยกันแสดงความคิดเห็นต่อผลงานของสภาที่แต่งตั้งขึ้นมาตามข้ออ้างและความฝันของการ "ปฏิรูป" ในยุคสมัยนี้ ส่งเป็นงานเขียนมาแบ่งปันไอเดียและความรู้กัน  
National Strategic Plan Committee
อ่าน

“คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ” การสืบทอดอำนาจและควบคุมนักการเมืองของคสช.

แม้ยังไม่เห็นเนื้อร่างยุทธศาสตร์ชาติ แต่ที่เป็นรูปธรรมแน่นอนแล้วคือ “คณะกรรมการยุทธศาสตร์ชาติ” ว่าจะมีรูปร่างหน้าตาอย่างไร ซึ่งต่อจากนี้ไปคณะกรรมการชุดนี้จะเข้ามาทำหน้าที่ร่างแผนยุทธศาสตร์ชาติฉบับจริง และเมื่อร่างเสร็จก็จะมีบทบาทในการควบคุมและตรวจสอบการทำงานของรัฐบาลชุดต่อๆ ไป  
Por Yor Por
อ่าน

รู้จัก ป.ย.ป. ทำหน้าที่ปฏิรูป ยุทธศาสตร์ชาติ และปรองดอง

ต้นเดือน ม.ค.2560 หัวหน้าคสช. ใช้อำนาจมาตรา 44 ประกาศคำสั่งคสช. 3/2560 เรื่อง การขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง โดยรมต.ประจำสำนักนายกรัฐมนตรี กล่าวว่า ปี 2560 จะเป็นปีของการปฏิรูปการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติใน 20 ปีและการสร้างความปรองดองต้องนำไปสู่ไทยแลนด์ 4.0 
Media Camera
อ่าน

เปิดร่างกฎหมายจดทะเบียนสื่อ เผย 5 วิธีรัฐแทรกแซงการกำกับดูแลกันเอง

ด้วยเหตุนี้ จึงเป็นที่มาของการยกร่าง พ.ร.บ.การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพ ส่งเสริมจริยธรรม และมาตรฐานวิชาชีพสื่อมวลชน พ.ศ…. ที่คณะรัฐมนตรีมีมติเห็นชอบในหลักการเมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2559 และสั่งให้คณะกรรมการสามฝ่าย คือ คณะรัฐมนตรี สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) และสภาขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ (สปท.) ไปพิจารณาร่างพ.ร.บ.ให้สอดคล้องเหมาะสมกับการปฏิรูปประเทศ หัวใจสำคัญของร่าง คือการกำหนดให้อาชีพสื่อเป็นอาชีพที่ต้องขึ้นทะเบียน และตั้งหน่วยงานขึ้นมาใหม่เพื่อกำกับดูแลสื่อไม่จำกัดประเภท ไม่ว่าจะเป็นสื่อออนไลน์หรือสื่อออฟไลน์
NLA Watch
อ่าน

เว็บค้นหาร่างกฎหมาย ยุค คสช.

ช่วงสองปีกว่าของคณะรักษาความสงบแห่งชาติ (คสช.) มีกฎหมายเก่าถูกแก้ไขและกฎหมายใหม่ถูกประกาศใช้เป็นจำนวนมาก ร่างกฎหมายต่างๆ มีช่องทางในการติดตามทางเว็บไซต์ เราจะมาแนะนำช่องทางในการค้นหาและติดตามร่างกฎหมายจากเว็บไซต์ต่างๆ ในยุค คสช.
electoral bill
อ่าน

จับตากฎหมายลูก: พ.ร.ป.เลือกตั้งฯ ร่างแรกให้อำนาจ กกต. มากขึ้น แต่ไร้การถ่วงดุล

ร่าง พ.ร.ป.ว่าด้วยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร เป็นหนึ่งในกฎหมายที่ กกต. ส่งร่างให้กับ กรธ. เมื่อ 19 กันยายน 2559 โดย สมชัย ศรีสุทธิยากร กกต. ให้คำอธิบายร่างกฎหมายอย่างกระชับๆ ว่า ฉบับ "4 ปฏิรูป" ปฏิรูปการรับสมัคร การหาเสียง การใช้สิทธิ และการประกาศผล
Amend Additional Question
อ่าน

ที่มา-ที่ไป เจตนารมณ์คำถามพ่วงส.ว.เสนอชื่อนายกฯได้ไหม?

แม้ประชามติร่างรัฐธรรมนูญและคำถามพ่วงจะผ่านความเห็นชอบแล้ว แต่ยังเหลือขั้นตอนแก้ร่างรัฐธรรมนูญกับคำถามพ่วงให้สอดคล้องกัน การแก้ไขเพิ่มเติมที่ดูเหมือนจะง่ายถึงตอนนี้ไม่แน่แล้ว เมื่อ สนช.พยายามขยายความคำถามพ่วงเพื่อให้ ส.ว.ชุดแรกจาก คสช. มีสิทธิเสนอชื่อนายกฯ ได้ด้วย