อ่าน

ศาลรธน. ไม่รับคำร้อง ปมรัฐสภาถามเขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติกี่ครั้ง ทำตอนไหน

17 เมษายน 2567 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเไม่รับคำร้องที่รัฐสภาขอให้ศาลรัฐธรรมนูญวินิจฉัยปัญหาอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาว่า รัฐสภาจะมีอำนาจในการพิจารณาแก้รัฐธรรมนูญได้เลยหรือต้องทำประชามติก่อน
อ่าน

ส่องวาระศาลรัฐธรรมนูญ-องค์กรอิสระ สว. 67 เคาะเลือกคนใหม่ได้เกินครึ่ง

พฤษภาคม 2567 สว. ชุดพิเศษ จะหมดอายุแล้ว แต่ สว. ชุดใหม่ ยังคงมีอำนาจสำคัญในการเห็นชอบตุลาการศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระ ภายใต้วาระการดำรงตำแหน่งของ สว. ชุดใหม่ จะมีอำนาจได้ “เกินครึ่ง” ของจำนวนตำแหน่งทั้งหมด
อ่าน

รัฐสภามีมติส่งศาลรัฐธรรมนูญ เขียนรัฐธรรมนูญใหม่ทำประชามติกี่ครั้ง ทำตอนไหน

29 มีนาคม 2567 ที่ประชุมรัฐสภามีมติเห็นชอบให้ส่งเรื่องไปยังศาลรัฐธรรมนูญ เพื่อขอให้วินิจฉัยเกี่ยวกับอำนาจหน้าที่ของรัฐสภาว่าการเสนอแก้รัฐธรรมนูญเพื่อจัดทำรัฐธรรมนูญฉบับใหม่โดยสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (สสร.) รัฐสภาจะมีอำนาจในการลงมติพิจารณาแก้รัฐธรรมนูญได้เลยหรือต้องทำประชามติก่อน ด้วยคะแนนเสียงเห็นด้วย 233 เสียง ไม่เห็นด้วย 103 เสียง และงดออกเสียง 170 เสียง
อ่าน

13 ปัญหารัฐธรรมนูญ 60 ทำไมรัฐบาลควรรีบมีรัฐธรรมนูญใหม่

รัฐธรรมนูญ 2560 ไม่ได้มีปัญหาเพียงแค่ “ที่มา” จากคณะรัฐประหารของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา เพียงอย่างเดียว แต่ยังมีปัญหาในเชิง “เนื้อหา” ด้วยไม่แตกต่างกัน ถือเป็นโอกาสอันดีและควรเป็นภารกิจหลักของรัฐบาลภายใต้การนำของเศรษฐา ทวีสิน นายกรัฐมนตรี ในการกำจัด “ผลไม้พิษ” อย่างรัฐธรรมนูญ 2560 และยุติปัญหาที่กระทบประชาชนทั้งประเทศโดยไม่ประวิงเวลาออกไปมากกว่านี้
อ่าน

ศาลรธน. ชี้ ก้าวไกลหาเสียงแก้ม.112 ใช้สิทธิเสรีภาพล้มล้างการปกครอง สั่งหยุดแสดงความเห็นเพื่อให้ยกเลิก ม.112

31 มกราคม 2567 ศาลรัฐธรรมนูญอ่านคำวินิจฉัยว่าการเสนอ-หาเสียงโยบายแก้ไขมาตรา 112 ของพรรคก้าวไกลเป็นการใช้สิทธิเสรีภาพล้มล้างการปกครองฯ และสั่งให้เลิกการกระทำ
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญเคาะ! พิธาไม่พ้นตำแหน่ง สส. เหตุ ITV ไม่ได้ประกอบกิจการสื่อแล้ว

ศาลรัฐธรรมนูญมีมติเสียงข้างมาก 8:1 เสียง วินิจฉัยว่า พิธาเป็นผู้ถือหุ้นในบริษัท ไอทีวี แต่ข้อเท็จจริง ไอทีวีไม่ได้ประกอบกิจการหรือมีรายได้จากกิจการหนังสือพิมพ์หรือสื่อมวลชน พิธาจึงไม่ได้มีลักษณะต้องห้ามไม่ให้ใช้สมัครรับเลือกตั้ง สส. ดังนั้นสมาชิกภาพ สส. ของพิธาจึงไม่สิ้นสุดลง
Ethical standards
อ่าน

“ผิดมาตรฐานจริยธรรมร้ายแรง” เครื่องมือสอยนักการเมืองจากรัฐธรรมนูญ’60

“มาตรฐานทางจริยธรรม” เป็นเครื่องมือในการสืบทอดอำนาจอีกชิ้นหนึ่งของ คสช. ที่เอาไว้ควบคุมนักการเมือง แม้โดยกฎหมายจะบังคับใช้กับศาลรัฐธรรมนูญและองค์กรอิสระด้วยก็ตาม แต่อำนาจในการออกมาตรฐานทางจริยธรรม การดำเนินคดี และการลงโทษล้วนอยู่ในมือของศาลและองค์กรอิสระทั้งสิ้น นับจนถึงคดีล่าสุดของ พรรณิการ์ วานิช อดีต สส. พรรคอนาคตใหม่ มีนักการเมืองถูกตัดสินว่าผิดมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรงแล้วจำนวนสี่คน
constitutional court news
อ่าน

ศาลรธน. ไม่รับคำร้องปมสภาห้ามเสนอชื่อโหวต “พิธา” ซ้ำ เหตุผู้ร้องไม่ใช่ผู้ถูกละเมิดสิทธิตรง

วันที่ 16 สิงหาคม 2566 ศาลรัฐธรรมนูญมีมติไม่รับคำร้องกรณีสภาไม่ให้เสนอชื่อโหวตพิธา ลิ้มเจริญรัตน์ แคนดิเดตนายกรัฐมนตรีซ้ำเป็นรอบที่สอง ระบุว่า ผู้ที่มีสิทธิยื่นเรื่องได้ต้องเป็นผู้ที่ได้รับการละเมิดสิทธิโดยตรงเท่านั้น
Repeatedly Wrong
อ่าน

เพราะทำ “ผิดซ้ำผิดซ้อน” จึงเลือกนายกฯ ไม่ได้สักที

หลังผ่านเลือกตั้งมาสามเดือนศาลรัฐธรรมนูญ กำลังกลายเป็นอีกปัจจัยสำคัญที่ชะลอให้การตั้งรัฐบาลเกิดขึ้นไม่ได้เสียที เกิดเหตุการณ์ที่มีผู้ใช้อำนาจ "ผิด" หลักการของกฎหมาย เมื่อผิดไปแล้วหนึ่งครั้ง ก็ทำให้กระบวนการต่อๆ มามีเหตุต้องอ้างอิงเพื่อยันการใช้อำนาจที่ผิดทำให้เกิดปัญหาซ้ำซ้อนขึ้นไปเรื่อยๆ
อ่าน

รวม 8 ผลงานเด็ด ศาลรัฐธรรมนูญ ชุดแต่งตั้งโดยกลไก คสช.

ศาลรัฐธรรมนูญมีแนวโน้มตัดสินให้โทษกับพรรคฝ่ายตรงข้ามกับ คสช. ในขณะที่หากเป็นเหล่าทหารโดยเฉพาะพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา กลับมีคำวินิจฉัยที่เป็นคุณ รวมคำวินิจฉัยสำคัญของศาลรัฐธรรมนูญที่มีผลต่อการเมืองไทย