DSC_0120
อ่าน

เก็บตกงานเสวนา เสาหลักต้องเป็นหลักอันศักดิ์สิทธิ์ – ศาลคือหน่วยงานสาธารณะที่ต้องถูกวิจารณ์และตรวจสอบโดยสาธารณะ

วันที่ 7 ตุลาคม 25…
49537173441_46b74b91d4_b
อ่าน

วิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญโดย “สุจริต” ทำได้ แค่ไม่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้าย

การละเมิดอำนาจศาลรัฐธรรมนูญ รวมถึงห้ามวิจารณ์คำวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญที่กระทำด้วยความไม่สุจริตและใช้ถ้อยคำหรือความหมายที่หยาบคาย เสียดสี อาฆาตมาดร้ายอีกด้วย ซึ่งมีบทลงโทษสูงสุดคือ จำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 50,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
concourt
อ่าน

ศาลรัฐธรรมนูญออกข้อกำหนด “ห้ามวิจารณ์ศาล” มีผลบังคับใช้ 17 ตุลาคม 2562

17 กันยายน 2562 เว็บไซต์ราชกิจจานุเบกษาเผยแพร่ข้อกำหนดศาลรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2562 โดยมีจุดน่าสนใจอยู่ที่ข้อที่ 10 ในข้อกำหนดดังกล่าว ที่นำบัญญัติเรื่องการ "ห้ามวิจารณ์ศาลโดยไม่สุจริต" มาบรรจุไว้ และข้อกำหนดฉบับนี้จะมีผลบังคับใช้ 30 วัน หลังประกาศในราชกิจจานุเบกษาหรือในวันที่ 17 ตุลาคม 2562 
Jarun and Udom
อ่าน

ห้ามวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญ โทษจำคุก มาได้ยังไง? : ศาลรัฐธรรมนูญไม่ได้ขอ – กรธ. ไม่ได้ให้เอง

ข้อค้นพบจากงานเสวนาชี้ให้เห็นความสับสนในที่มา เมื่อตุลาการศาลรัฐธรรมนูญ บอกว่า ไม่ต้องการโทษจำคุกสำหรับความผิดฐานละเมิดอำนาจศาล แต่กรรมการร่างรัฐธรรมนูญกลับบอกว่า ไม่ได้เป็นคนใส่เพิ่มขึ้นมา ขณะกฎหมายที่ประกาศใช้กำหนดให้การวิจารณ์ศาลรัฐธรรมนูญโดยไม่สุจริตมีโทษจำคุก 1 เดือน
อ่าน

เห็นพ้อง ความผิดละเมิดอำนาจศาล ควรลดโทษจำคุก-เพิ่มโทษปรับ สร้างความชัดเจนมาตรฐานเดียว

งานเสวนาเรื่องกฎหมายละเมิดอำนาจศาล ผศ.เอื้ออารีย์ ชี้สถานการณ์ปัจจุบันขาดความชัดเจน ลงโทษซ้ำจากการกระทำเดียว พิจารณาคดีโดยไม่อิสระ ขัดต่อหลักสากล จรัญ เห็นพ้องด้วยควรแก้กฎหมาย ย้ายออกจากป.วิ.แพ่ง ไม่เน้นโทษจำคุก สร้างมาตรฐานกลางสำหรับทุกศาลให้ประชาชนเข้าใจได้
Sawatree Suksri
อ่าน

เสวนา “คำพิพากศาล” นักวิชาการชี้ รัฐใช้ ม.112 เป็นกลไกสร้างความกลัว – การบังคับใช้กฎหมายขึ้นอยู่กับว่า คุณเป็นใคร?

สาวตรี สุขศรี คณะนิติศาสตร์ มธ. กล่าวในงานเสวนา "คำพิพากศาล" ว่า กฎหมายอาญามาตรา 112 เป็นกลไกรัฐในการสร้างความกลัว และเป็นกระบวนการยุติธรรมเชิงบีบบังคับให้จนมุม ด้าน สมชาย ปรีชาศิลปกุล คณะนิติศาสตร์ มช. มองว่าปัจจุบันสังคมไทยอยู่ในภาวะ 1 ระบบ 3 มาตรฐาน การบังคับใช้กฎหมายต่างๆ ขึ้นอยู่กับว่า บังคับใช้กับใคร กลุ่มประชาชนทั่วไป ผู้ต่อต้าน หรือสนับสนุนรัฐ
Contemp of Court
อ่าน

เสวนา “ละเมิดอำนาจศาล” จำเลยชี้ ศาลใช้ดุลยพินิจกว้างเกินไป งานศึกษา ป.โท เผยศาลใช้อำนาจ ‘วันสต็อปเซอร์วิส’

สุดสงวน หรือ อาจารย์ตุ้ม ผู้เคยถูกพิพากษาจากคดีละเมิดอำนาจศาล ชี้ ศาลใช้ดุลยพินิจในคดีละเมิดอำนาจศาลกว้างเกินไป ด้าน นศ.ป.โท เปิดงานวิจัย พบแนวฎีกา การกระทำประพฤติตนไม่เรียบร้อยใน-นอกบริเวณศาล ชี้ ความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลคล้ายวันสต็อปเซอร์วิส (one stop service) ศาลเห็นเอง พิจารณาเอง พิพากษาเองได้
25590601095716_IMG_1334
อ่าน

“ประพฤติตนไม่เรียบร้อยในบริเวณศาล” ตีความกว้างไกลให้อะไรๆ ก็เป็นละเมิดอำนาจศาลได้

“ประพฤติตนไม่เรียบร้อย” ในความผิดฐานละเมิดอำนาจศาลถูกตีความกว้าง และแนวพิพากษายังกลับไปกลับมาไม่ตายตัว
51188015477_0936524fb6_c
อ่าน

ดูหมิ่นศาล-ละเมิดอำนาจศาล กฎหมายปกป้องศาลจากการวิจารณ์

เมื่อสถาบันศาลกลายมาเป็นผู้เล่นตัวหนึ่งในความขัดแย้งทางการเมือง ผู้ที่เสียเปรียบทางการเมืองจึงมักถูกลากให้ยืนตรงข้ามกับสถาบันศาลไปด้วย ความผิดฐาน “ดูหมิ่นศาล” และความผิดฐาน “ละเมิดอำนาจศาล” จึงเข้ามามีบทบาทสำคัญเพื่อปิดกั้นการเคลื่อนไหวและการวิพากษ์วิจารณ์
mou uthayaaaan
อ่าน

หยุดทริปอุทยานราชภักดิ์ที่สถานีบ้านโป่ง จับ 36 คนทำ MOU ปรากฏกลุ่มต้านตะโกนด่า

ทหารตำรวจผนึกกำลังหยุดทริปของกลุ่มประชาธิปไตยศึกษาที่จะเดินทางไปตรวจสอบทุจริตอุทยานราชภักดิ์ ที่สถานีรถไฟบ้านโป่ง จับผู้จัดและผู้เข้าร่วมไปทั้งหมด 36 คน พาไปสอบสวน ที่พุทธมณฑลก่อนปล่อยตัว กิจกรรมวันนี้ปรากฏกลุ่มต้านตะโกนด่ารุนแรง 7 ธันวาคม 2558 นักศึกษากลุ่มประชาธิปไตยศึกษา และประชาชนจำนวนหนึ่ง รวมตัวกันที่สถานีรถไฟธนบุรี เขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร เพื่อเดินทางไปอุทยานราชภักดิ์ อำเภอหัวหิน จังหวัดประจวบศีรีขันธ์ รถไฟขบวนที่ 255 ปลายทางสถานีหลังสวน จังหวัดชุมพร ออกตรงเวลา 7.30 น.