Mining Map
อ่าน

การแก้ปัญหามลพิษที่ไปไม่สุดของ พ.ร.บ.แร่ ฉบับใหม่

หลังจากเกิดกระแสต่อต้านมาอย่างต่อเนื่อง ในที่สุดพ.ร.บ.แร่ฉบับใหม่ ก็ประกาศใช้เมื่อต้นปี 2560 หนึ่งในจุดเด่น คือ มาตรการปกป้องสิ่งแวดล้อมไว้ที่หลากหลายขึ้น รวมทั้งเปลี่ยนผู้มีอำนาจตัดสินใจเป็นรูปแบบคณะกรรมการ แต่ก็ยังมีจุดอ่อนแบบเนียน ๆ ของกฎหมายฉบับนี้
mining bill
อ่าน

สรุปเสวนา: วิเคราะห์ร่าง พ.ร.บ.แร่ เอื้อเอกชนทำเหมืองง่าย ภาคประชาชนคัดค้าน

เครือข่ายประชาชนผู้เป็นเจ้าของแร่ของประเทศไทย จัดเวทีวิเคราะห์กฎหมายแร่ฉบับใหม่ ในหัวข้อ “พ.ร.บ.แร่ นี่มันแย่จริงๆ” นอกจากนี้ตัวแทนเครือข่ายประชาชนผู้รับผลกระทบจากหกพื้นที่สะท้อนปัญหาและคัดค้านร่าง พ.ร.บ.แร่
protest against mining
อ่าน

ค้านร่าง พ.ร.บ. แร่ ฉบับ คสช. หวั่นชุมชนล่มสลาย

รวมพลังชาวบ้านหลายพื้นที่สัมปทานเหมืองแร่เมืองเลย ค้านร่างกฎหมายแร่ฉบับ คสช.หวั่น Mining Zone จะก่อให้เกิดความล่มสลายอย่างรุนแรงต่อชุมชนทั่วประเทศได้ เพราะเปิดทางให้ทำเหมืองได้ในพื้นที่ป่าสงวน  การลดขั้นตอนการขอสัมปทานสำรวจและทำเหมืองแร่ให้สั้นที่สุดเท่าที่จะสั้นได้  เพื่อความรวดเร็วต่อเอกชนที่จะเข้ามาลงทุน  โดยเฉพาะขั้นตอนปรึกษาหารือกับประชาชนในพื้นที่สัมปทาน
Mining Zone
อ่าน

พื้นที่ป่าสงวน สร้อยทองที่คอ เกี่ยวยังไงกับ สนช. และ พ.ร.บ.แร่?

ร่าง พ.ร.บ.แร่ฉบับใหม่ตั้งเป้าให้มีเขตทรัพยากรแร่ และอำนวยความสะดวกให้เอกชนขอสัมประทาน หากร่างผ่านการขอสัปทานทำเหมืองแร่จะง่ายขึ้นมาก และพื้นที่ที่จะได้รับผลกระทบก็จะเพิ่มขึ้นอย่างมโหฬาร ส่วนหนึ่งเพราะร่าง พ.ร.บ.นี้อนุญาตให้ทำเหมืองแร่ในพื้นที่หวงห้าม อย่างป่าสงวนหรือที่ ส.ป.ก. ได้
Lartsak: type of the Thai junta law
อ่าน

ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.

ในสังคมอารยะ รัฐจะต้องไม่ทำลายอุดมคติเพื่อมวลมนุษยชาติและการใช้อำนาจจะต้องยึดโยงกับประชาชน  ไม่ใช่เพื่อสร้างระบบราชการอันเข้มแข็งที่ทำลายความรู้สึกมั่นคงปลอดภัย ในการใช้ชีวิตของประชาชน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ “รัฐไม่ต้องเผยข้อมูล หากกระทบความมั่นคง”

ร่าง พ.ร.บ.แร่ เข้าสู่วาระการประชุม สนช. 11 มี.ค.59 เป็นการปรับปรุง พ.ร.บ.แร่ พ.ศ.2510 และ พ.ร.บ.พิกัดอัตราค่าภาคหลวงแร่ พ.ศ.2509 เหตุผลการแก้ไขเนื่องจากเนื้อหากฎหมายเดิมบางส่วนไม่เหมาะสมกับปัจจุบัน แม้มีการแก้ไขแต่เนื้อหาหลายส่วนยังคงมีปัญหา เพราะดูจะเอื้อประโยชน์ให้กับนายทุนมากกว่า  
อ่าน

Mining Zone ในร่างกฎหมายแร่มีสภาพบังคับ ไม่ใช่ดุลพินิจ

เลิศศักดิ์ คำคงศักดิ์ โต้งแย้งบทความของกรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่ (กพร.) เรื่องอำนาจจัดทำ‘แผนแม่บทบริหารจัดการแร่’ ในร่างพ.ร.บ.แร่ ชี้ถึงแม้จะมีแผนแม่บทก็ต้องยึดการแบ่ง Mining Zone เป็นหลัก ไม่อาจเขียนแผนแม่บทกระทบการแบ่ง Mining Zone ได้
mining bill
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ ‘เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่สำคัญกว่าชีวิตคน’

21 ต.ค. 2557 ครม.อนุมัติ หลักการร่าง พ.ร.บ.แร่ เสียงคัดค้านจากประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการทำเหมืองแร่ก็ดังขึ้น ประชาชนในหลายพื้นที่เรียกร้อง ให้ชะลอร่างกฎหมายฉบับนี้เข้าสู่ สนช. ให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม และรอสภาจากการเลือกตั้ง ขณะนี้ร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวอยู่ในการดูแลของคณะกรรมการกฤษฎีกา