International Agreement Law
อ่าน

ต้องรอบคอบแค่ไหนก่อนทำสัญญาระหว่างประเทศ? ความฝันประชาชน vs ข้อเสนอกระทรวงต่างประเทศ

กระทรวงต่างประเทศกำลังเสนอกฎหมายใหม่ กำหนดวิธีการฟังเสียงประชาชนเพื่อให้รัฐบาลไปตกลงทำสัญญาระหว่างประเทศ ให้เปิดช่องทางออนไลน์ จัดประชุม ทำโพล ฯลฯ แต่ให้เวลาอย่างน้อย 15 วัน ส่วนช่องทางอื่นๆ ที่ประชาชนเคยเสนอไว้ให้เปิดเผยข้อมูล เปิดเผยร่างสัญญา มีผู้สังเกตการณ์ หายไปหมดแล้ว
images
อ่าน

มาตรา 190 ตายแล้ว…ความล้มเหลวของระบบรัฐสภาไทย

การประชุมของรัฐสภาได้ลงมติเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม โดยเสียงข้างมากแก้ไขเนื้อหาบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ ม.190
no trips plus
อ่าน

ชุมนุมท้วงเอฟทีเอไทย-อียู เปิดข้อมูลทุกครั้ง ก่อน -หลัง เจรจา

รัฐธรรมนูญไทยดูเหมือนทันสมัยที่ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน แต่ในทางปฏิบัติ กลไกกฎหมายที่เอื้อให้มีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ยังไม่เกิดขึ้นจริง การเคลื่อนไหวบนท้องถนนยังจำเป็น กรณีการเจรจาเอฟทีเอไทย-สหภาพยุโรปคือตัวอย่างล่าสุด
อ่าน

ศาลปกครองชี้ กฎหมายหมวดครม. ประชาชนไม่มีสิทธิเสนอ

30 ต.ค. 55 ศาลปกครองพิพากษายกฟ้อง คดีที่นายจักรชัย โฉมทองดี ฟ้องประธานรัฐสภา กรณีที่สั่งไม่รับพิจารณาร่างพ.ร.บ.การจัดทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ ที่ประชาชนเข้าชื่อกันเสนอ ชี้รัฐธรรมนูญกำหนดให้เป็นกฎหมายที่คณะรัฐมนตรีมีหน้าที่จัดทำเป็นการเฉพาะแล้ว   
อ่าน

“หมวด 3 หมวด 5” อย่าตีกรอบประชาชนตั้งแต่ต้นทาง

ร่างกฎหมายที่ประชาชนระดมชื่อได้นับหมื่น เมื่อหอบไปกองหน้ารัฐสภากลับถูกถีบกลับออกมา โดยอ้างว่าเป็นเรื่องที่ประชาชนไม่มีสิทธิเสนอ “จักรชัย โฉมทองดี” ผู้แทนเสนอร่างพ.ร.บ.จัดทำหนังสือสัญญาระหว่างประเทศ เล่าประสบการณ์ที่ผ่านขวากหนาม ก่อนจะนำเรื่องฟ้องศาลปกครองเพื่อทวงนิยามสิทธิประชาชน