Add in Constitution
อ่าน

iLaw Poll : รวมความคิดเห็นประชาชนจากโลกออนไลน์ สำหรับการจัดทำรัฐธรรมนูญใหม่

ไอลอว์ตั้งคำถามเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญให้ประชาชนร่วมแสดงความคิดเห็นบนโลกโซเชี่ยลมีเดีย มีคนช่วยกันแสดงความเห็นกันอย่างคึกคัก ส่วนใหญ่ต้องการยกเลิกกลไกที่ คสช. วางไว้เพื่อสืบทอดอำนาจของตัวเอง จึงสรุปรวบรวมมาไว้ที่นี่
RIA Statement
อ่าน

ภาคประชาชน เผยรัฐเปิดฟังความเห็นร่างกฎหมายขัดรัฐธรรมนูญ ขู่ฟ้องศาลเพิกถอนมติคณะรัฐมนตรี

30 มิ..ย.2560 เครือข่ายองค์ภาคประชาสังคม ร่วมกันออกแถลงการณ์แสดงความกังวลต่อกระบวนการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์ผลกระทบจากการออกกฎหมาย ตามมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ 2560 แถลงการณ์ฉบับนี้รวบรวมและสรุปความคิดเห็นจากนักวิชาการ และภาคประชาชน ที่ศึกษาและได้รับผลกระทบ 
article 77
อ่าน

ขึ้นเว็บไซต์อย่างน้อย 15 วัน ก็ถือว่าเป็นการรับฟังความคิดเห็นตาม รัฐธรรมนูญ ม. 77

คณะรัฐมนตรี (ครม.) มีมติ เรื่อง “แนวทางการจัดทำและเสนอร่างกฎหมายตามบทบัญญัติมาตรา 77 ของรัฐธรรมนูญ 2560 โดยหลักเกณฑ์นี้ให้หน่วยงานรัฐนำไปปฏิบัติก่อนนำเสนอร่างกฎหมายต่อครม.
Constitution Cover
อ่าน

“ม.77” หลังประกาศใช้รธน.ใหม่ เปิดช่องพิจารณากฎหมายต้องรับฟังความคิดเห็นและศึกษาผลกระทบ

เมื่อร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับผ่านประชามติ 2559  ประกาศใช้ขั้นตอนในการออกกฎหมายของ สนช. จะมีการเปลี่ยนแปลงไปเพราะ ในมาตรา 77 วรรคสอง ได้กำหนดให้ "ก่อนการตรากฎหมายทุกฉบับ รัฐพึงจัดให้มีการรับฟังความคิดเห็นของผู้เกี่ยวข้อง  วิเคราะห์ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นจากกฎหมายอย่างรอบด้านและเป็นระบบ รวมทั้งเปิดเผย ผลการรับฟังความคิดเห็นและการวิเคราะห์นั้นต่อประชาชน และนำมาประกอบการพิจารณา ในกระบวนการตรากฎหมายทุกขั้นตอน" 
อ่าน

สรุปร่างรัฐธรรมนูญ: ตัดขั้นตอนรับฟังประชาชน ก่อนการทำข้อตกลงระหว่างประเทศ

ก่อนหน้านี้ ถ้ารัฐบาลจะลงนามในข้อตกลงระหว่างประเทศที่มีผลต่อเศรษฐกิจและสังคม ต้องให้ข้อมูลประชาชนและจัดรับฟังความคิดเห็นของประชาชนประก่อนการดำเนินการ แต่ตามร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับลงประชามติ ไม่มีขั้นตอนนี้คอยบังคับรัฐบาลแล้ว
mining bill
อ่าน

ร่าง พ.ร.บ.แร่ ‘เพราะประโยชน์ของชาติ (นายทุน ข้าราชการ)? ที่สำคัญกว่าชีวิตคน’

21 ต.ค. 2557 ครม.อนุมัติ หลักการร่าง พ.ร.บ.แร่ เสียงคัดค้านจากประชาชนผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการทำเหมืองแร่ก็ดังขึ้น ประชาชนในหลายพื้นที่เรียกร้อง ให้ชะลอร่างกฎหมายฉบับนี้เข้าสู่ สนช. ให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม และรอสภาจากการเลือกตั้ง ขณะนี้ร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวอยู่ในการดูแลของคณะกรรมการกฤษฎีกา     
Environmental justice
อ่าน

เปิดรับฟังความคิดเห็น ร่างกฎหมายวิธีพิจารณาคดีสิ่งแวดล้อม

เปิดร่ืางกฎหมายสองฉบับ คือ ร่างพระราชบัญญัติการบริหารกระบวนการยุติธรรมทางสิ่งแวดล้อม และ ร่างพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีสิ่งแวดล้อม ฉบับรับฟังความคิดเห็น เชิญชวนทุกคนเสนอแนะ ติชม ได้แล้ว