อ่าน

พฤษภาคม 2560: ขวางจัดรำลึกเหตุการณ์ปี 53′ – สองจำเลยคดี 112 เปลี่ยนใจรับสารภาพ

  เดือนพฤษภาคมเป็นเดือนที่ คสช. และฝ่ายความมั่นคง ต้องจับตาสถานการณ์เป็นพิเศษ เพราะมีวันครบรอบเหตุการณ์ทางการเมืองที่สำคัญเกิดขึ้นอย่างน้อยสามเหตุการณ์ ได้แก่ เหตุการณ์สลายการชุมนุมปี 2535 หรือเหตุการณ์ “พฤษภาทมิฬ” เหตุการณ์สลายการชุมนุมของกลุ่มแนวประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติหรือกลุ่ม นปช.
อ่าน

สามปีแล้วสินะ: ประชาชนต่อสู้เพื่อสิทธิได้แค่ไหน อะไรบ้าง ?

ปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ระยะสามปีการคงอำนาจรัฐบาล คสช. มีเรื่องราวเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของภาคประชาชนเกิดขึ้นมากมาย ยิ่งในยุคที่มีการปิดกั้นจากรัฐภาคประชาชนยิ่งต้องหาวิธีการแสดงความคิดเห็น บ้างเป็นกิจกรรมเชิงสัญลักษณ์ บ้างเป็นการชุมนุมของผู้ถูกละเมิด และมีบ้างที่พยายามใช้ช่องทางกฎหมายที่มีอยู่น้อยนิดในการต่อสู้กับผู้มีอำนาจ ซึ่งทั้งหมดเป็นบทเรียนสำคัญที่ภาคประชาชนไทยได้เรียนรู้    
อ่าน

ใครออกกฎหมาย? 1: “สภาทหาร-สภาผลประโยชน์” เมื่อคนใกล้ชิดผู้นำประเทศอยู่เต็มสนช.

สมาชิกสนช. 250 คน ถูกแต่งตั้งจากหัวหน้า คสช. จำนวนเกินครึ่งของสภาเป็นทหาร และมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ คสช. ทั้งในฐานะเพื่อนร่วมรุ่น ผู้บังคับบัญชา และเครือญาติ
สรุปเสวนา: 5 ปัญหาประชาธิปไตยไทย ทำไมดึกดำบรรพ์
อ่าน

สรุปเสวนา: 5 ปัญหาประชาธิปไตยไทย ทำไมดึกดำบรรพ์

นักวิชาการเผย อุปสรรคประชาธิปไตย 5 ข้อ ตุลาการแทรกแซงการเมือง ชนชั้นนำเปิดทางกุมอำนาจ นายทุนไม่เอื้อประชาธิปไตย รธน.ทำรัฐมีปัญหา วัฒนธรรมปลูกฝังชาตินิยม
อ่าน

โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ “ความหวัง” หรือ “หายนะ”?

กว่าห้าทศวรรษรัฐบาลพยายามทั้งเดินหน้าทั้งหยุดโครงการโรงไฟฟ้านิวเคลียร์ หนึ่งก็ด้วยการต่อต้านในพื้นที่ต่างๆ อีกหนึ่งก็คือการเปลี่ยนทางเลือกใช้พลังงานในระดับโลก ตอนนี้ยุคของรัฐบาล คสช.แผนการจัดสร้างโรงไฟฟ้าถูกอนุมัติอีกครั้ง สำหรับประเทศไทยจะเป็น “ความหวัง” หรือ “หายนะ”?
Lartsak: type of the Thai junta law
อ่าน

ลักษณะกฎหมายในยุคเผด็จการทหาร คสช.

ในสังคมอารยะ รัฐจะต้องไม่ทำลายอุดมคติเพื่อมวลมนุษยชาติและการใช้อำนาจจะต้องยึดโยงกับประชาชน  ไม่ใช่เพื่อสร้างระบบราชการอันเข้มแข็งที่ทำลายความรู้สึกมั่นคงปลอดภัย ในการใช้ชีวิตของประชาชน
อ่าน

คณะรัฐประหารสืบทอดอำนาจกันอย่างไรในรัฐธรรมนูญ?

รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ถูกกล่าวหาว่ามีการสืบทอดอำนาจ ซึ่งไม่ใช่ครั้งแรกในการเมืองไทยที่มีการกล่าวหาเรื่องนี้ เราจะย้อนกลับไปดูว่ารัฐธรรมนูญที่ถูกร่างขึ้นหลังการรัฐประหาร (รัฐธรรมนูญฉบับปี 2492, 2511, 2521, 2534 และ 2550) เขาสืบทอดอำนาจอย่างไร? และผลจากการสืบทอดอำนาจเป็นอย่างไร ?

2014 Situation Summary Report 5/5: Self-censorship, restricted access to online media, and the shutdown of community radio before and after the coup

At the beginning of 2014, the heated protests of the People’s Democratic Reform Committee (PDRC), which had begun in November 2013, were ongoing. The protests continued until 20 May 2014 when the Royal Thai Army claimed that the PDRC and other political protests could lead to unrest and violence and therefore declared martial law.

2014 Situation Summary Report 2/5: Lèse majesté cases: One step forward, three steps backward

In early 2014, the situation of cases concerning Article 112 of the Criminal Code, or lèse majesté cases, was relatively less tense in comparison to the post-coup period. A number of verdicts made prior to the coup were in favor of the accused. The rights of the accused and society were given an importance greater than the infliction of severe sanctions.