Emergency Decree
อ่าน

พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จบ แต่คดีไม่จบ ตำรวจ อัยการ ศาลต้องหาทางออกคดีฝ่าฝืนพ.ร.ก.

แม้ประกาศสถานการณ์ฉุกเฉิน ข้อกำหนด ประกาศ และคำสั่งที่ออกมาภายใต้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ จะถูกยกเลิกแล้วตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2565 แต่การประกาศยกเลิกไม่ได้ระบุให้บรรดาคดีความในข้อหาฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ สิ้นสุดลงด้วย ในทางกฎหมาย คดีเหล่านี้ยังเดินหน้าต่อได้ตามกระบวนการจนกว่าคดีจะถึงที่สุด    
Hammer Abolishment
อ่าน

อนาคตคดีฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังไม่แน่นอน ครม. ต้องสั่ง “ยกเลิกคดี” ให้ชัดเจนด้วย

คดีจากการฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังมีอนาคตที่สับสน แม้ว่าการประกาศสถานการณ์ฉุกเฉินฯ เพื่อควบคุมโรคโควิดจะสิ้นสุดลง แต่คดียังอาจเดินหน้าต่อไปได้ ไม่ใช่กรณีกฎหมายถูกยกเลิก ซึ่งคณะรัฐมนตรีควรต้องใช้อำนาจออกประกาศให้ชัดเจนเพื่อหาทางลดภาระในกระบวนการยุติธรรม
52357085749_9b6edcf058_o
อ่าน

10 ข้อ สนับสนุน #ยกเลิก112 ทุกคนช่วยกันทำได้ทุกวัน

ท่ามกลางบรรยากาศความน่ากลัวของการบังคับกฎหมายที่มีขอบเขตไม่ชัดเจน จำนวนคดีที่เพิ่มขึ้นแทบจะทุกวันและดูเหมือนไม่มีที่สิ้นสุด ตลอดจนคำพิพากษาให้จำคุกที่ทยอยออกมาเรื่อยๆ ก่อนที่สังคมจะดำดิ่งไปสู่ความจำนนต่อสถานการณ์ ไอลอว์ชวนดูทางเลือก 10 ข้อ อยากสนับสนุน #ยกเลิก112 ทำอะไรได้บ้าง?
52296599150_0cd71cd12c_o
อ่าน

นักโทษการเมือง #ระลอก4 ยังคง “เข้า-ออก เรือนจำ” ต่อเนื่องเป็นเดือนที่ 5

จนถึงวันที่ 19 สิงหาคม 2565 มีนักกิจกรรมทางการเมืองที่ถูกคุมขังระหว่างการสอบสวนและระหว่างที่คดียังไม่ถึงที่สุดอย่างน้อย 29 คน  นับจากกระแสเรียกร้องทางการเมืองรอบใหม่การคุมขังนักเคลื่อนไหวทางการเมืองเกิดขึ้นเป็นระลอกๆ ตามบรรยากาศการชุมนุมเรียกร้องที่ขยายตัวขึ้นและลง ในช่วงเวลานี้ถือเป็นระลอกที่สี่แล้ว ไล่เรียงมาตั้งแต่ (1) ช่วงเดือนตุลาคม 2563 (2) ช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2564 (3) ช่วงเดือนสิงหาคม 2564  (4) หลังการทยอยปล่อยตัวแกนนำราษฎรเมื่อเดือนมกราคม-กุมภาพันธ์ 2565 ไม่นานนัก “คำสั่งคุมขัง” ก็กลับมาอ
52260097708_3f2c1e91d9_o
อ่าน

บลูเบอร์รี่ชีสเค้ก ความสุขของ “คิม-ป่าน” ทะลุฟ้า สองผู้ต้องขังหญิงในเรือนจำ

ทสมา หรือ คิม และกตัญญู หรือ ป่าน เป็นสมาชิกกลุ่มทะลุฟ้าที่เป็นผู้หญิงสองคน ที่วันนี้ถูกคุมขังอยู่ในทัณฑสถานหญิงกลางโดยไม่ได้รับอนุญาตให้ประกันตัว ตั้งแต่วันที่ 19 กรกฎาคม 2564 จากคดีชุมนุมและสาดสีหน้าอาคารพรรคประชาธิปัตย์ เมื่อวันที่ 30 กรกฎาคม 2564 ซึ่งอัยการตั้งข้อหาฐานมั่วสุมก่อความวุ่นวาย ตามมาตรา 215, 216 และฝ่าฝืนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ โดยศาลให้เหตุผลว่าการกระทำเป็นความผิดต่อกฎหมายหลายบท ใช้ความรุนแรงทำให้เกิดอันตรายแก่บุคคลอื่นโดยไม่มีเหตุอันสมควร จึงน่าเชื่อว่าหากให้ประกันตัวจะก่อให้เกิดภ
52048320997_38561d3692_o
อ่าน

RECAP: ไล่เรียงสถานการณ์ไต่สวนประกันคดีม.112 สะท้อนแนวโน้มส่งผู้ต้องหาเข้าเรือนจำระหว่างพิจารณาคดี

การยื่นเรื่องขอประกันตัวผู้ต้องหาในบางกรณีนอกจากจะต้องวางหลักทรัพย์เป็นจำนวนเงินแล้ว คำสั่งอนุญาตให้ปล่อยตัวชั่วคราวอาจพ่วงมาด้วย “เงื่อนไข” ภายใต้สัญญาประกัน เพื่อป้องกันไม่ให้ผู้ต้องหาหลบหนี เช่น เงื่อนไขห้ามเดินทางออกนอกราชอาณาจักร, ห้ามออกนอกเคหสถานภายในเวลาที่กำหนด, การติดอุปกรณ์อิเลกทรอนิกส์ (กำไล EM) หรือเงื่อนไขการมารายงานตัวต่อศาลเป็นประจำอย่างต่อเนื่อง ภายใต้เงื่อนไขที่กำหนดไว้ หากผู้ที่ได้รับอนุญาตให้ประกันตัวไม่ปฏิบัติตามก็อาจถูกเพิกถอนสัญญาประกันได้ โดยในทางปฏิบัติ ศาลมีอำนาจในการออกหมายเรียกให้ผู้ต้องหาหรือจำเลยมาศาลเพื่อสั่งเพิกถอนการประกันตัวเองไ
Army Annoucement
อ่าน

ไล่เรียง ‘ประกาศ ผบ.สส.’ สั่งห้ามชุมนุมเข้มงวดยิ่งกว่า พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

นอกจากข้อกำหนดห้ามชุมนุมที่อ้างควบคุมโรคโควิด 12 ฉบับแล้ว พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ยังให้ผู้บัญชาการทหารสูงสุด แก้ปัญหาด้านความมั่นคงโดยออกคำสั่งควบคุมการชุมนุมมาอีกรวม 15 ฉบับ ซึ่งเนื้อหาทับซ้อนกัน แก้ไขและยกเลิกฉบับก่อนหน้าจนสร้างความสับสน และเพิ่มเครื่องมือให้ตำรวจสั่งห้ามการชุมนุมได้หลากหลายขึ้น
Emergency regulation
อ่าน

ไล่เรียง ข้อกำหนด “ห้ามชุมนุม” ตามพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ

การประกาศใช้ พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ เพื่อควบคุมการแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 เป็นการใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ทั่วประเทศที่กินระยะเวลายาวนานตามมาด้วยข้อกำหนดห้ามการชุมนุมมากมายที่เปลี่ยนไปตามสถานการณ์โควิด และมีเนื้อหาทับซ้อนกันจนการเอามาใช้ยังสับสน
Two years of Emergency
อ่าน

สองปี พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หยุดอ้างโรคระบาด รักษาอำนาจให้ประยุทธ์

ชวนลงชื่อยกเลิกการใช้พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ หยุดอ้างโควิด ปิดปากประชาชน เกือบสองปีแล้วที่อ้างสถานการณ์โรคระบาด ใช้กฎหมายพิเศษ และรวบอำนาจไว้ในมือของพล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา ชัดเจนขึ้นเรื่อยๆ ว่า พ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ มีเอาไว้เพื่อรักษาอำนาจทางการเมือง มากกว่าเพื่อการควบคุมโรค 
emergency bill
อ่าน

สภาฯ มีมติ เปิดทางครม. ถ่วงเวลา นำร่างกฎหมายใช้แทนพ.ร.ก.ฉุกเฉินฯ ไปศึกษา 60 วัน

9 กุมภาพันธ์ 2565 สภาผู้แทนราษฎร เห็นด้วยอนุมัติให้ครม. ถ่วงเวลา นำร่างพ.ร.บ.ฉุกเฉินฯ ไปศึกษาก่อนรับหลักการ 227 เสียง ไม่เห็นด้วย 157 เสียง งดออกเสียง 10 เสียง ไม่ลงคะแนนเสียง 0 เสียง เป็นอันว่าครม. สามารถนำร่างกฎหมายดังกล่าวไปศึกษาก่อน 60 วัน